Page 112 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 112

พัฒนำระบบกำรบันทึกข้อมูลกำรส่งต่อผู้ป่วยวิกฤต โดยใช้ระบบ QR code

                   Development system record document of critical illness patient by QR code

                                                                     นางสุชาดา ฝางค า และนางสรญา ศาสตร์สูงเนิน

                                                       โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี เขตสุขภาพที่ 10

                  บทน ำ

                                                        ุ
                         ศูนย์ส่งต่อ งานการพยาบาลผู้ป่วยอบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาล
                                      ิ
                  พบูลมังสาหาร อ าเภอพบูลมังสาหาร จังหวัดอบลราชธานี ให้บริการผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อเฉลี่ย เดือนละ
                   ิ
                                                          ุ
                  130 - 150 คน ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มฉุกเฉินและวิกฤตินี้จ าเป็นต้องได้รับการประเมินก่อนการส่งต่อและบันทึกข้อมูล
                  การส่งต่อโดยพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานน าส่งต่อ ซึ่งระบบเดิมใช้การบันทึกและประเมินผู้ป่วยใน
                  แบบประเมินโดยกระดาษ ซึ่งพบปัญหาการไม่บันทึกข้อมูลร้อยละ 40 ลายมือไม่ชัดเจนร้อยละ 50 บันทึกข้อมูล
                                                                  ่
                  ไม่สมบูรณ์ 10 และส่งผลต่อการน าข้อมูลไปใช้ในการเบิกคาตอบแทนส าหรับพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานส่งต่อ
                                                              ู
                  ซึ่งพบอุบัติการณ์ การเบิกค่าตอบแทนในการส่งต่อไม่ถกต้องมากกว่า 10 จุดและมีการปรับแก้ทุกเดือน
                                                                        ุ
                         จากปัญหาดังกล่าว ศูนย์ส่งต่อ งานการพยาบาลผู้ป่วยอบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช กลุ่มการพยาบาล
                                                                                            ื่
                  จึงได้พฒนาระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยโดยใช้ระบบระบบ QR code เพอช่วยลดระยะเวลา
                        ั
                  การบันทึกข้อมูลและการประเมินผู้ป่วยส่งต่อให้เป็น Real – time และยังเป็นการ Lean ระบบการบันทึก
                  ข้อมูลให้ใช้ระยะเวลาที่สั้นลงและสะดวกต่อการเบิกค่าตอบแทนส าหรับพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานส่งต่อ
                  เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยวัตถุประสงค์

                                       ื่
                                         ั
                  วัตถุประสงค์กำรวิจัย เพอพฒนาระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยโดยใช้ระบบ QR code
                  ตัวชี้วัดควำมส ำเร็จ

                         1. มีระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วย โดยใช้ระบบ QR code
                         2. ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพในการปฏิบัติงานส่งต่อ โดยการใช้ระบบ QR code > 90%
                         3. ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ > 95%

                  ระยะเวลำ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565

                  กลุ่มเป้ำหมำย

                         1. พยาบาลที่ปฏิบัติการน าส่งผู้ป่วยในโรงพยาบาลพบูลมังสาหาร จ านวน 60 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่ม
                                                                     ิ
                  อย่างง่ายเป็น
                                1.1. กลุ่มควบคุม 30 ราย (บันทึกระบบเดิม)
                                1.2. กลุ่มทดลอง 30 รายระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อ โดยใช้ระบบ QR code
                         2. เอกสารบันทึกขอมูลการส่งต่อผู้ป่วย จ านวน 100 ราย โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย
                                        ้
















                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      108
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117