Page 113 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 113
กรอบแนวคิดกำรวิจัย
CASE Refer กลุ่มควบคุม 30 ราย Out come
ที่ใช้พยาบาลน าส่ง (บันทึกระบบเดิม) 1. มีระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วย โดยใช ้
ระบบ QR code
2. ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพในการปฏิบัติงานส่ง
กลุ่มทดลอง 30 ราย ต่อโดยการใช้ระบบ QR code > 90%
3. ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ > 95%
ระบบการบันทึกข้อมูลส่งต่อโดยใช้ระบบ QR code
วิธีกำรด ำเนินงำน
1. ประชุมทีมงานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวชร่วมกับ IT โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร
2. วางระบบร่วมกับหน่วยงานที่ต้องประสานงานแลศูนย์ Refer
3. สร้างระบบ QR code เพื่อใช้เป็นส่วนกลางในการประสานงาน
4. แจ้งทีมและขั้นตอนการใช้งาน
5. น าไปใช้ในหน่วยงาน
6. ติดตามผลการด าเนินงานและติดตามตัวชี้วัดความส าเร็จ
7. ขยายไปหน่วยงานใกล้เคียง
ิ
ู
สถิติที่ใช้ในกำรวเครำะห์ข้อมล สถิติเชิงพรรรณา ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเปรียบเทียบกลุ่ม
ตัวอย่าง 2 กลุ่มโดยใช้ t - test เพื่ออภิปรายความแตกต่าง
ผลกำรศึกษำ
จากการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยวิกฤติที่ได้รับส่งต่อทั้งหมด 2,894 ราย เป็น Case ER จ านวน 1,612 ราย
เป็น Case IPD จ านวน 1,282 คน ใช้พยาบาลน าส่งทั้งหมด 2,145 รอบ
1. ค่าคะแนนความพึงพอใจจากการศึกษา พบว่า
1.1 กลุ่มควบคุมที่ใช้ระบบการการบันทึกแบบเดิมมีความพงพอใจก่อนในการบันทึกอยู่ในระดับน้อย
ึ
ึ
คิดเป็นร้อยละ 38.13 (X=38.13,SD 6.5) ติดตามประเมินซ้ าในรอบ 3 เดือน พบว่า ค่าคะแนนความพงพอใจ
ในการบันทึกระยะหลังอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 14.46 (X=41.46,SD 7.6)
One-Sample Statistics
N Mean Std. Deviation Std. Error Mean
ความพึงพอใจก่อนใช้ระบบ 30 38.1333 6.59537 1.20414
บันทึกเดิม
ความพึงพอใจหลังใช้ระบบเดิม 30 41.4667 7.64169 1.39518
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 109