Page 108 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 108
ผลของกำรใช้ระบบLine notify ต่อกำรลดระยะเวลำกำรส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติ
ศูนย์ส่งต่อ งำนกำรพยำบำลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิตเวช กลุ่มงำนกำรพยำบำล
โรงพยำบำลพิบูลมังสำหำร จังหวัดอุบลรำชธำนี
นางสุชาดา ฝางค า และนางสรญา ศาสตรสูงเนิน
งานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิตเวช โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี เขตสุขภาพที่ 10
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
งานการพยาบาลผู้ป่วยอบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช กลุ่มงานการพยาบาล ให้บริการผู้ป่วยอบัติเหตุ -
ุ
ุ
ฉุกเฉิน มีการส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินเฉลี่ยเดือนละ 130 - 150 คน ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จ าเป็นต้องมีการ
ประสานงานหลายหน่วยงานและมีการส่งข้อมูลหลาหลายส่วน เช่น X-ray ประสานศูนย์ Refer ตามรถ
ขอพยาบาลในการส่งต่อผู้ป่วย ซึ่งใช้เวลาในการด าเนินงานเฉลี่ย 30 นาที และญาติผู้ป่วยจะต้องไปติดต่อ
ประสานงานตามหน่วยงานท าให้เกิดความยุ่งยากและอาจส่งผลต่อความพงพอใจในการรับบริการ
ึ
ึ
ุ
และพบอบัติการณ์ญาติผู้ป่วยไม่พงพอใจในการต้องติดต่อประสานงาน 5 ครั้งในรอบ 1 สัปดาห์ ในการส่งต่อ
ข้อมูล
จากปัญหาดังกล่าวงานงานการพยาบาลผู้ป่วยอบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช กลุ่มการพยาบาล จึงได้
ุ
ระบบการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติโดยใช้ระบบ Line notify เพอช่วยลดระยะเวลาการส่งต่อข้อมูล
ื่
ื่
ผู้ป่วย และยังเป็นการ Lean ระบบการส่งต่อข้อมูลให้ใช้ระยะเวลาที่สั้นลงอกด้วย เพอให้ผู้ป่วยและญาติ
ี
เกิดความพึงพอใจในการรับบริการและส่งต่อ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการลดเวลาในการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติโดยใช้ระบบ Line notify
2. เพอศึกษาผลของการใช้ระบบ Line notify ต่อการลดระยะเวลาการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติ
ื่
ตัวชี้วัดควำมส ำเร็จ
1. มีระบบการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติโดยใช้ระบบ Line notify 100%
2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการในการส่งต่อ > 90%
3. ลดระยะการส่งข้อมูล < น้อยกว่า 10 นาที
4. ข้อร้องเรียนเรื่องการส่งต่อข้อมูลล่าช้าเป็น 0
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 104