Page 109 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 109

กรอบแนวคิด

                                                  กลุ่มควบคุม 30 ราย                     Outcome
                       CASE SUPER                                              1. มีระบบการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่ม
                                                      (ระบบเดิม)
                                                                               ผู้ป่วยวิกฤติโดยใช้ระบบ Line notify
                                                                               2. ความพึงพอใจของพยาบาลในการ

                                  กลุ่มทดลอง30 ราย                             ส่งข้อมูล > 90%
                                                                               3. ลดระยะการส่งข้อมูล < น้อยกว่า
                                                                               10 นาที
                                                                               4. ข้อร้องเรียนเรื่องการส่งต่อล่าชา ้

                     ระบบการส่งข้อมูลส่งต่อในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติ                เป็น 0
                    โดยใช้ระบบ Line notify
                          ขอผล X-ray Online
                          ขอทีม Refer Online
                          ขอเอกสาร Refer online



                  วิธีกำรศึกษำ
                         การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi- experimental research) ระยะเวลา 1 ตุลาคม
                  2564 – 30 กันยายน 2665 โดยเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบจ าเพาะเจาะจงโดยมีเกณฑ์การคัดเข้าจากผู้ป่วยวิกฤติ

                  ที่ได้รับการส่งต่อ (Refer super) จ านวน 60 ราย โดยเลือกจากการสุ่มจากผู้ป่วยวิกฤติที่ได้รับการส่งต่อทั้งหมด
                  โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 ราย กลุ่มควบคุม 30 ราย และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานส่งข้อมูลผู้ป่วย 30 ราย
                  สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยได้สร้างระบบ Line notify เพอใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
                                                                             ื่
                  และเก็บข้อมูลวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนา หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ

                  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเปรียบเทียบ T - test

                  ผลกำรศึกษำ
                         1. จากการศึกษา พบว่า ในปีงบประมาณ 2565 พบผู้ป่วยวิกฤติที่ได้รับส่งต่อทั้งหมด 994 ราย
                  เป็น Case ER จ านวน 612 ราย เป็น Case IPD จ านวน 382 คน เป็นเพศชายเป็นส่วนใหญ่ จ านวน 510 ราย
                  คิดเป็นร้อยละ 57 และได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ จ านวน 484 คน คิดเป็นร้อยละ 42

                         2. ระยะเวลารอคอยในการประสานงาน พบว่า หลังใช้ระบบ ระยะเวลารอคอยลดลงหลังใช้ระบบ
                  Line notify เป็น 5.06 นาที (X=5.06,SD 0.9) จากเดิมระยะเวลารอคอยก่อนใช้ระบบ Line notify
                  เป็น 18.53 นาที (X=18.53,SD 21.18)



                                             Independent T-test Sample Test
                                                       N       Mean  Std. Deviation  Std. Error Mean

                   ระยะรอคอยผู้ป่วย IPD ก่อนใช้ระบบ    30     18.5333         19.00801           21.18404
                   Line notify
                   ระยะรอคอยผู้ป่วย IPD หลังใช้ระบบ    30       5.0667           .90719            .16563
                   Line notify







                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      105
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114