Page 40 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 40
Saraburi Trauma Fast Track for “One Province One ER”
นางจินตนันท์ สิทธิประชาราษฎร์
งานอุบัติเหตุและฉกเฉิน โรงพยาบาลสระบุรี เขตสุขภาพที่ 4
ุ
ั
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
จากสถิติฐานข้อมูลบริการผู้ป่วยโรงพยาบาลสระบุรี ย้อนหลัง 3 ปี ระหว่างปี 2562 - 2564 พบว่า
มีผู้ป่วยอบัติเหตุวิกฤตมีภาวะช็อกระดับ 3 ที่ต้องเข้ารับการรักษาโดยการเข้าห้องผ่าตัดด่วนจากห้องฉุกเฉิน
ุ
ดังนี้ 75, 69 และ 82 รายตามล าดับ โรงพยาบาลสระบุรี เป็น Excellence Trauma center level 1
รับผิดชอบให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอบัติเหตุวิกฤตภายในจังหวัดและเขตสุขภาพที่ 4 เป็นหลักซึ่งระยะเวลา
ุ
ุ
ุ
มาตรฐานที่ศูนย์อบัติเหตุควรบริหารจัดการผู้ป่วยอบัติเหตุวิกฤตที่ควรได้รับการผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที
หลังจากผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน
ซึ่งจากการทบทวนคุณภาพบริการการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ โรงพยาบาลสระบุรี พบว่า หากผู้ป่วยได้รับ
การประเมินสภาพ ตรวจร่างกาย การวินิจฉัย และมีแผนการรักษาโดยการผ่าตัดทันทีแล้ว แต่เกิดความล่าช้า
ของระบบการบริหารจัดการส่งผู้ป่วยไปยังห้องผ่าตัดอาจส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ล่าช้าและเสียชีวิตได้
ุ
ดังนั้น การที่สามารถตรวจประเมินได้ว่าผู้ป่วยอบัติเหตุวิกฤตที่ควรได้รับการผ่าตัดตั้งแต่โรงพยาบาล
ชุมชน หรือ ณ จุดเกิดเหตุโดยทีม ALS และรีบสื่อสารรายงานมายังห้องฉุกเฉินและทีมดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุวิกฤต
ุ
ให้ทราบล่วงหน้าก่อนผู้ป่วยจะมาถึง จะท าให้ห้องฉุกเฉินและทีมดูแลผู้ป่วยอบัติเหตุสามารถบริหารจัดการ
ให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้เข้าห้องผ่าตัดได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลดีต่อผู้ป่วยเพมโอกาสการรอดชีวิต ลดภาวะทุพพลภาพ
ิ่
ั
และลดอตราตายได้ ตัวชี้วัดคุณภาพบริการกระทรวงในผู้ป่วยอบัติเหตุที่ต้องการการผ่าตัด (Door ER to OR
ุ
time in 60 mins) ก าหนดเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ 80 โดยผลการด าเนินงาน โรงพยาบาลสระบุรีที่ผ่านมา
ระหว่าง ปี 2562 – 2564 พบว่า สามารถส่งห้องผ่าตัดได้ตามเป้าหมายเพียงร้อยละ 66.66, 71.01 และ 71.95
ตามล าดับ ซึ่งระยะเวลารอคอยห้องผ่าตัดนานมีความสัมพันธ์กับอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยที่ลดลง
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
เพอพฒนาและศึกษาประสิทธิผลของกระบวนการดูแลและส่งต่อผู้ป่วยอบัติเหตุช่องทางเร่งด่วน
ื่
ั
ุ
ุ
Saraburi Trauma Fast Track for “One Province One ER” งานอบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลสระบุรี
จังหวัดสระบุรี
วิธีกำรศึกษำ
ั
ื่
กิจกรรมพฒนา (Process): ใช้แนวคิด LEAN เพอลดขั้นตอนที่สูญเปล่า (Waste) ในกระบวนการ
เข้าถึงห้องผ่าตัดของผู้ป่วยอบัติเหตุวิกฤตที่มีภาวะช็อกระดับ 3 (Trauma level 1 with unstable shock
ุ
class 3) โดยมีประเด็นการพัฒนาดังนี้ (เริ่มปรับระบบเดือนมิถุนายน 2565)
กระบวนการดูแลและส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุช่องทางเร่งด่วน ก่อนผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสระบุรี
ER Patient Flow Trauma level 1 with unstable shock class 3
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 36