Page 37 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 37
สถิติที่ใช้
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาเปรียบเทียบลักษณะประชากรและข้อมูลการล าเลียงผู้ป่วย
ระหว่างกลุ่มที่รอดชีวิตและเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงด้วยสถิติ Exact probability test ก าหนดนัยส าคัญ
ทางสถิติที่ค่า p<0.05
ผลกำรศึกษำ
ึ
ในช่วงระยะเวลาที่ศกษา มีการร้องขอการล าเลียงทางอากาศในจังหวัดตาก 101 ครั้ง สามารถล าเลียง
ได้จริง 73 ครั้ง การร้องขออากาศยานแต่ไม่ได้รับการล าเลียงนั้น ผู้ป่วยมีสาเหตุจากสภาพอากาศไม่พร้อม
ื่
15 ครั้ง หน่วยบินมีภารกิจอน 7 ครั้ง ผู้ป่วยมีข้อห้ามทางการบิน 3 ครั้งและผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนการอนุมัติบิน
3 ครั้ง การล าเลียงส่วนใหญ่ปฏิบัติการโดยทีม โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จ านวน 65 ครั้ง
มีผู้ป่วยได้รับการล าเลียง 71 คน
ร้อยละ 73.2 ของการร้องขออากาศยานผ่านทางโทรศัพท์หมายเลข 1669 ของศูนย์รับแจ้งเหตุ
ี
และสั่งการโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีเพยงร้อยละ 26.8 โทรแจ้งผ่านแพทย์เวรอานวยการ
ปฏิบัติการบินจังหวัดตากโดยตรง ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 54.9) อายุอยู่ในช่วง 15 – 60 ปี
(ร้อยละ 43.6) ใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ร้อยละ 73.2) มีภูมิล าเนาอยู่ในอาเภออมผาง (ร้อยละ
ุ้
ื้
ั
57.8) และพนที่เหนือเขื่อนภูมิพลของอาเภอสามเงา (ร้อยละ 20) กลุ่มโรค 3 อนดับแรก คือ กลุ่มผู้ป่วยเด็ก
วิกฤต (ร้อยละ 23.9) กลุ่มโรคทางสูตินรีเวช (ร้อยละ 18.3) และทารกแรกเกิด (ร้อยละ 18.3) ระดับ
ความรุนแรงของผู้ป่วยทั้งหมดอยู่ในระดับ 1 และ 2 ระยะเวลาที่ใช้ร้องขอจนถึงเฮลิคอปเตอร์ยกตัว ส่วนใหญ่
อยู่ที่น้อยกว่า 60 นาที (ร้อยละ 52.1) ประเภทของการล าเลียงทางอากาศใช้กรณีการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ที่ท าก่อนถึงโรงพยาบาลเป็นหลัก (ร้อยละ61.9) อากาศยานที่ใช้มากสุดเป็นของกองทัพบก (ร้อยละ 62.0)
สามารถล าเลียงผู้ป่วยได้จนจบภารกิจร้อยละ 97.2 มีการล าเลียงผู้ป่วยมากกว่า 1 คนต่อเที่ยวบินจ านวน
6 ครั้ง
ผู้ป่วยจ านวน 5 รายเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากการรักษาในสถานพยาบาลปลายทาง คิดเป็น
อตราตายร้อยละ 7 โดยเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก 1 ราย มี Glasgow coma scale 3 คะแนน
ั
ิ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีภาวะช็อกและหัวใจหยุดเต้น 1 ราย ภาวะพษเหตุติดเชื้อ (Sepsis)
ร่วมกับระบบหายใจล้มเหลว 1 ราย และทารกแรกเกิดน้ าหนักตัวต่ ากว่าเกณฑ์ คลอดที่บ้านและปอดอกเสบ
ั
ั
ติดเชื้อ 2 ราย สิทธิ์การรักษาส่วนใหญ่คือบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าร้อยละ 73 อนดับต่อมาคือสิทธิ์ว่าง
ร้อยละ 15 เกิดจากประชากรชาติพนธุ์ในบางพนที่ไม่มีเลขบัตรประชาชน ถึงแม้อาศัยในประเทศไทยตั้งแต่
ั
ื้
ุ้
ื้
แรกเกิด ภูมิล าเนาของผู้ป่วยที่ล าเลียงมาส่วนใหญ่อยู่อาเภออมผาง รองลงมาคือพนที่เหนือเขื่อนภูมิพล
ของอ าเภอสามเงา เมื่อครบ 24 ชั่วโมงแล้ว จ านวนผู้ป่วยถูกล าเลียงทั้งหมด 71 ราย ไม่พบหลักฐานทางสถิติว่า
เพศ อายุ กลุ่มโรค ระดับความรุนแรงของผู้ป่วย ประเภทของการล าเลียงทางอากาศ สถานพยาบาลปลายทาง
ที่รับผู้ป่วย ระยะเวลาร้องขอจนถึงเฮลิคอปเตอร์ยกตัว ระยะเวลาที่ใช้เฮลิคอปเตอร์บินเริ่มจากรับผู้ป่วย
จนถึงสถานพยาบาลปลายทาง ทีมล าเลียงทางอากาศ แตกต่างกันระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่รอดชีวิตและผู้ป่วย
ที่เสียชีวิต
อภิปรำยผล
ข้อดีของงานวิจัยฉบับนี้คือ การน าข้อมูลที่เก็บไว้ 8 ปี นับตั้งแต่มีการสร้างระบบโดยทีมบุคลากร
สหวิชาชีพประจ าแผนกอบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมาวิเคราะห์ทางสถิติ
ุ
ื้
สามารถรวบรวมลักษณะของข้อมูลพนฐานผู้ป่วย กลุ่มโรค ลักษณะความรุนแรง ลักษณะการออกปฏิบัติการ
และอัตราการเสียชีวิตหลังการล าเลียงที่ 24 ชั่วโมง เพื่อประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาระบบการล าเลียงผู้ป่วย
ั
ทางอากาศอย่างต่อเนื่อง และพฒนาคุณภาพของทีมล าเลียงกับหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร้องขออากาศยาน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 33