Page 35 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 35

ผลลัพธ์กำรให้บริกำรผู้ป่วยของระบบกำรแพทย์ฉุกเฉินทำงอำกำศในพื้นที่ทุรกันดำรจังหวัดตำก

                  (Outcome of providing services to patients rescued by Aeromedical transport
                                        in remote areas, Tak province, Thailand)


                                                           แพทย์หญิงศิวนาฏ พีระเชื้อ, แพทย์หญิงกัญจนี วชิรรังสิมันตุ์,
                                                 แพทย์หญิงธีรารัตน์ เพ็ชรประเสริฐ และนายแพทย์ธนวิชญ์ จิรเดชพิทักษ์

                                                    กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
                                                                                      จังหวัดตาก เขตสุขภาพที่ 2

                  ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
                         ระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ (Emergency care system) มีจุดประสงค์
                  เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ลดอัตราการเสียชีวิตและภาวะทุพพลภาพที่ป้องกันได้จาก

                  การเจ็บป่วยฉุกเฉิน จังหวัดตากมีพนที่ใหญ่เป็นล าดับ 4 ของประเทศไทยแต่มีประชากรเบาบางเป็นล าดับที่ 2
                                               ื้
                                                                              ื้

                  แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อาเภอ การเดินทางเข้าถึงการรักษาในบางพนที่ท าได้ล าบากเนื่องจากภูมิประเทศ
                  มีเทือกเขาสูงกั้นตรงกลางระหว่างฝั่งตะวันออกและตะวันตก บางพนที่ไม่มีถนนติดต่อกับตัวอาเภอ ต้องใช้การ

                                                                         ื้
                                        ั
                                                                                                   ื่
                  สัญจรทางน้ า จึงได้มีการพฒนาระบบการรับและส่งต่อผู้ป่วยทางอากาศยานขึ้นในปีพ.ศ. 2555 เพอแก้ปัญหา
                                        ื้
                  ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินจากพนที่ทุรกันดารที่มีอตราการเสียชีวิตสูงจากการได้รับการรักษาไม่ทันกาล ต่อมา
                                                        ั
                  ในปี พ.ศ. 2558 กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ปรับปรุงระบบ
                  การล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศให้เป็นระเบียบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการควบคุมคุณภาพ
                                                   ื้
                  โดยแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินประจ าพนที่ ทดแทนการปรึกษาแพทย์อานวยการปฏิบัติการฉุกเฉินกลาง

                  จากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงศึกษาผลลัพธ์ของการให้บริการล าเลียงผู้ป่วยฉุกเฉิน
                  ด้วยอากาศยานโดยโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเสียชีวิตที่ 24 ชั่วโมง
                  เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ที่เริ่มมีการวางกรอบการบริหารจัดการและเก็บข้อมูลอย่างเป็น
                                                        ั
                                                     ื่
                  ระบบจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 เพอพฒนาศักยภาพทีมล าเลียงทางอากาศและหน่วยบริการปฐมภูมิ
                  ที่ขออากาศยาน

                  วตถุประสงค์กำรศึกษำ เพอศึกษาผลลัพธ์ของการให้บริการล าเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน
                   ั
                                           ื่
                  โดยโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเสียชีวิตที่ 24 ชั่วโมง
























                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       31
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40