Page 38 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 38
ั
ิ่
เมื่อดูจากสถิติย้อนหลัง จ าเป็นต้องพฒนาความรู้เพมเติมด้านการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินแม่และเด็ก
ให้กับเจ้าหน้าที่ทีมล าเลียงโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยอาจจัดการอบรมร่วมกับแผนก
กุมารเวชกรรมและแผนกสูตินรีเวช หรือการส่งบุคลากรแพทย์-พยาบาล กุมารเวชกรรม สูตินรีเวชกรรม เข้ารับ
การอบรมล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศเบื้องต้นและสามารถช่วยเป็นทีมล าเลียงเฉพาะกิจได้ เนื่องจากผู้ป่วยส่วน
ใหญ่ที่ร้องขออากาศยานที่มีอาการรุนแรงและมีความเฉพาะคือเป็นกลุ่มเด็กและผู้ป่วยสูตินรีเวชในสัดส่วนที่สูง
นอกจากนี้จะเห็นว่ามีการร้องขออากาศยานในผู้ป่วยกลุ่ม Fast track เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคกล้ามเนื้อ
หัวใจขาดเลือด เกิดขึ้นในสัดส่วนที่น้อย ดังนั้นโรงพยาบาลชุมชนในพนที่ควรให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วย
ื้
บริการปฐมภูมิ รวมถึงผู้ป่วยและญาติในการรีบเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ส าหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้ ซึ่งการใช้
ั
ื้
อากาศยานล าเลียงในพนที่ห่างไกล ช่วยให้ได้รับการรักษาทันกาล ลดอตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพได้
นอกจากนี้พบว่า อาเภอแม่ระมาด อาเภอบ้านตาก ซึ่งมีพนที่ที่ห่างไกลตัวอาเภอและการเดินทางไม่สะดวกยัง
ื้
ไม่มีการร้องขอใช้การล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศ ดังนั้นควรมีการส ารวจและวางแผนขยายเส้นทางการล าเลียงไป
ยังพื้นที่ดังกล่าว
สรุปและข้อเสนอแนะ
จังหวัดตากยังมีความจ าเป็นต้องใช้ระบบการล าเลียงทางอากาศเนื่องด้วยสภาพพนที่และความเจริญ
ื้
ด้านการคมนาคม รวมถึงควรวางแผนขยายเส้นทางการล าเลียงด้วยอากาศยานไปยังพนที่ทุรกันดารของอาเภอ
ื้
ท่าสองยาง อาเภอแม่ระมาด อาเภอบ้านตาก จังหวัดตาก โดยผ่านโครงการลานจอด ฮ. ต่อชีวิต รวมถึง
การขยายเส้นทางการบินไปยังพนที่ทุรกันดารอื่นของเขตสุขภาพที่ 2 ในอนาคตได้ กับการเชื่อมพนที่ทุรกันดาร
ื้
ื้
รอยต่อระหว่างเขตจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน และเชียงใหม่ เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินไร้รอยต่อ
เขตสุขภาพ โดยร่วมกับทีมล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานเขตสุขภาพที่ 1 ให้ส าเร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม
หากน ามาสรุปเทคนิคและกระบวนการ POSDCoRB เพื่อวางแนวทางการพัฒนาการให้บริการผู้ป่วยของระบบ
ิ่
การแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศในพนที่ทุรกันดารจังหวัดตากและขยายโครงการเพมไปทั่วเขตสุขภาพที่ 2 นั้น
ื้
สามารถสรุปได้เป็น
P= Planning (การวางแผน) จัดวางแผนการพฒนา 5 ปี เพอสร้างเป็นทีมล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศจังหวัดตาก
ั
ื่
ื้
ที่สามารถดูแลผู้ป่วยพนที่ทุรกันดารในเขตสุขภาพที่ 2 ให้ครอบคลุม โดยวางแผนเริ่มที่จังหวัดเพชรบูรณ์
ื้
พษณุโลก ตามล าดับ รวมถึงการเชื่อมต่อกับเขตสุขภาพที่ 1 ในบริเวณพนที่รอยต่อจังหวัดตาก เชียงใหม่
ิ
แม่ฮ่องสอน
O= Organizing (การจัดการองค์กร) มีการกาหนดโครงสร้างหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉนระดับเฉพาะทาง
ิ
สาขาฉุกเฉินการแพทย์ทางอากาศ มีผังบังคับบัญชา แบ่งงานตามหน้าที่ และระบบการรับปรึกษาชัดเจน
ั
S= Staffing (การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน) มีการเพมอตราก าลังของทีมล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศจังหวัดตาก
ิ่
เสริมการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร มีการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ มีการจัดแผนประคองกิจการ
D= Directing (การอานวยการ) เนื่องจากโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้รับการรับรองจาก
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ให้เป็นหน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินระดับเฉพาะทาง สาขาการแพทย์ฉุกเฉิน
ทางอากาศ ท าให้มีหน่วยปฏิบัติที่มีมาตรฐาน มีระบบการควบคุมการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติ
ชัดเจน มีแผนสร้างแรงจูงใจในการล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศของผู้ปฏิบัติการ มีหัวหน้าชุดปฏิบัติการที่มีความ
เป็นผู้น าสูง และผู้บริหารโรงพยาบาลได้ให้ความส าคัญโดยสร้างภารกิจดังกล่าวเป็นนโยบายของโรงพยาบาล
Co= Coordinating (การประสานงาน) มีการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เช่น กองก าลังนเรศวร หน่วยบิน
ต ารวจจังหวัดตาก ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก ฝ่ายปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนน าหมู่บ้าน
อสม. เพื่อพัฒนาระบบร่วมกัน ทั้งในส่วนก่อนการล าเลียงผู้ป่วย ขณะล าเลียงผู้ป่วย และทีมรับผู้ป่วย
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 34