Page 36 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 36
วิธีกำรศึกษำ
ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ร้องขอกำรล ำเลียง
ทำงอำกำศของจังหวัดตำก n= 101
ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ได้รับ
กำรล ำเลียงทำงอำกำศจริง n= 73 ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
ที่ไม่ได้รับกำรล ำเลียงทำงอำกำศ
ล าเลียงโดยทีม
*** ล ำเลียงโดยทีม n= 28
โรงพยาบาลอุ้มผาง
โรงพยำบำลสมเด็จพระเจ้ำ - สภาพอากาศและทัศนวิสัยไม่พร้อม
ตำกสินมหำรำช n= 65 n= 8 ส าหรับท าการบิน n=15
- หน่วยบินมีภารกิจอื่น n=7
ผู้ป่วย 1 คนต่อ 1 เที่ยวบิน (59 ครั้ง) - ผู้ป่วยมีข้อห้ามทางการบิน n= 3
n= 59 คน - ผู้ป่วยเสียชีวิต
ก่อนจะอนุมัติให้บิน n= 3
ผู้ป่วย 2 คน ต่อ 1 เที่ยวบิน (6 ครั้ง)
n= 12 คน
รูปแบบกำรศึกษำ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง (Cross-sectional descriptive study)
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ถูกล าเลียงทางอากาศทั้งแบบ Primary mission (ปฏิบัติการฉุกเฉินที่ท าก่อนถึง
ื่
โรงพยาบาล โดยไปรับผู้ป่วยยังสถานที่เกิดเหตุหรือจุดรับผู้ป่วยเพอน ามารักษายังโรงพยาบาล) หรือแบบ
secondary mission (การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากสถานพยาบาลหนึ่งไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า)
โดยทีมล าเลียงผู้ป่วยทางอากาศของโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในช่วงเดือนมกราคม
พ.ศ. 2558 – เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565
วิธีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
การร้องขอการล าเลียงในจังหวัดตาก 101 ครั้ง สามารถล าเลียงได้จริง 73 ครั้ง เป็นผู้ป่วย
ของทีมล าเลียงโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 65 ครั้ง (71 คน) เกณฑ์คัดออก ได้แก่ ผู้ป่วย
ื่
ที่ไม่สามารถล าเลียงได้ด้วยเหตุสุดวิสัยทางสภาพอากาศ หน่วยบินติดภารกิจอน หรือมีข้อห้ามทางการบิน
ผู้ป่วยถูกล าเลียงด้วยทีมปฏิบัติการอื่น (เช่น ทีมโรงพยาบาลอุ้มผาง จังหวัดตาก) ผู้ป่วยที่เสียชีวิตก่อนได้รับการ
ล าเลียงและผู้ป่วยที่ไม่สามารถติดตามข้อมูลจากสถานพยาบาลปลายทางได้
วิธีกำรวิเครำะห์ข้อมูล
เก็บข้อมูลย้อนหลังจากแบบบันทึกสรุปรายงานการล าเลียงทางอากาศของแพทย์อานวยการปฏิบัติการ
ทางการบินจังหวัดตาก เวชระเบียนและผลการรักษาภายหลังการล าเลียงครบ 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยสถิติเชิงพรรณนาเปรียบเทียบลักษณะประชากรและข้อมูลการล าเลียงผู้ป่วยระหว่างกลุ่มที่รอดชีวิต
และเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 32