Page 47 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 47
ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล ด าเนินการใน 4 ขั้นตอน คือ 1) แพทย์เวรที่ขอรับค าปรึกษาโทรศัพท์
ื่
ั
ไปยังงานเจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์ (Operator) เพอสอบถามชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวร
ื่
ั
เฉพาะทาง 2) เจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์ (Operator) โทรศัพท์ไปยังแพทย์เวรเฉพาะทางเพอขออนุญาต
ั
ให้หมายเลขโทรศัพท์แก่แพทย์เวรที่จะขอรับค าปรึกษา 3) เจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์ (Operator)
โทรกลับไปแจ้งหมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวรเฉพาะทางแก่แพทย์เวรที่จะขอรับค าปรึกษา และ 4) แพทย์เวร
ที่จะขอรับค าปรึกษาโทรศัพท์ถึงแพทย์เวรเฉพาะทาง
ื่
ปัญหาการปฏิบัติงานในการปรึกษาแพทย์เวรเฉพาะทางจากการประชุมเพอถอดบทเรียน พบว่า
ชื่อแพทย์เวรเฉพาะทางไม่ตรงกับที่ปรากฏในตารางเวร เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนเวรภายหลังจากตารางเวร
ั
ออกแล้ว จ าเป็นต้องโทรสอบถามชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวรจากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพนธ์
หรือห้องฉุกเฉินก่อน ใช้เวลาค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวร บางครั้งติดต่อแพทย์เวรเฉพาะทางไม่ได้
เนื่องจากไม่ทราบหมายเลขติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ผิด การติดต่อแต่ละครั้งมีหลายขั้นตอนท าให้เกิดความ
ไม่สะดวกและล่าช้า
2. หลักกำรและขั้นตอนกำรพัฒนำนวัตกรรม
ั
การพฒนานวัตกรรม “One click one specialist” ด าเนินการตามกรอบแนวคิดทฤษฎีวงจรการ
ั
พฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ซึ่งประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ก าหนด
ปัญหา (Problem recognition) 2) ศึกษาความเหมาะสม (Feasibility study) 3) วิเคราะห์ (Analysis)
4) ออกแบบ (Design) 5) พัฒนาและทดสอบ (Development & test) 6) ใช้งาน (Implementation) และ 7)
บ ารุงรักษาระบบ (System Maintenance)
ั
การพฒนานวัตกรรม “One click one specialist” เป็นการน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ LINE
ื่
application และ Google form เพอช่วยให้ระบบข้อมูลและการสื่อสารของการปรึกษาแพทย์เวรเฉพาะทาง
เป็นไปอย่างให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการแจ้งตารางแพทย์เวรรายวัน
และการปรึกษาแพทย์เวรเฉพาะทางสาขาต่าง ๆ ทั้งการปรึกษากรณีเร่งด่วนและไม่เร่งด่วน ทั้งการปรึกษา
ภายในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ และโรงพยาบาลลูกข่ายในจังหวัดกาฬสินธุ์ จ านวน 7 สาขา คือ สูตินรีเวชกรรม
ศัลยกรรม อายุรกรรม ตา หู คอ จมูก ศัลยกรรม ออร์โธปิดิกส์ จิตเวช และ Stroke ด าเนินการดังนี้
ื่
2.1 จัดหาโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอปกรณ์อาน simcard ชนิด multi simcard reader เพอให้เกิด
ุ
่
ความสะดวกในการตั้งค่าโอนสาย
2.2 พัฒนาโปรแกรมตารางเวรแพทย์เฉพาะทางสาขาต่าง ๆ Online บน Google sheet ซึ่งหากมีการ
เปลี่ยนแปลงเวรสามารถเข้าไปแก้ไขชื่อให้เป็นปัจจุบันได้ทันที
2.3 เชื่อมข้อมูลรายชื่อแพทย์เวรเฉพาะทางสาขาต่าง ๆ และหมายเลขโทรศัพท์จาก Google sheet
ไปยัง LINE group ในลักษณะข้อความอัตโนมัติทุกวันตอนเช้า เพื่อให้ทราบชื่อแพทย์เวรเฉพาะทางสาขาต่าง ๆ
ที่ปฏิบัติงานในวันนั้น ๆ
2.4 ตั้งค่า (Setting) ให้หมายเลขของแพทย์เวรเฉพาะทางสาขานั้น ๆ ที่ปรากฏใน LINE group
สามารถกดโทรออกได้ทันทีเมื่อต้องการโทรศัพท์ถึงแพทย์เวรเฉพาะทางโดยกดที่หมายเลขเพยง 1 ครั้ง
ี
(One click) เพื่อโทรไปยังโทรศัพท์กลาง ซึ่งจะถูกโอนสายไปยังแพทย์เวรเฉพาะทางในวันนั้น ๆ ได้ทันที โดยไม ่
ปรากฏหมายเลขโทรศัพท์ของทั้งแพทย์เวรผู้ขอรับค าปรึกษาและแพทย์เวรเฉพาะทางผู้ให้ค าปรึกษา
2.5 เจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์ (Operator) มีหน้าที่ตั้งค่าการโอนสายโทรศัพท์ไปยังแพทย์เวร
ั
เฉพาะทางในวันนั้น ๆ วันละ 1 ครั้ง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 43