Page 50 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 50
3. คะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.52, SD = .98;
x = 4.60, SD = .57)
4. ลดความเสี่ยงต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติงาน และลดโอกาสสูญเสียต่อผู้รับบริการ
โดยไม่พบอบัติการณ์เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ หมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวรหรือแพทย์เฉพาะทาง
ุ
ผู้รับบริการได้รับการรักษาเร็วขึ้นและลดโอกาสสูญเสีย จากระยะเวลาการปรึกษาที่ลดลง
ั
5. คะแนนเฉลี่ยความพงพอใจของแพทย์เวรผู้ขอรับค าปรึกษาและเจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์
ึ
โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x= 4.36, SD = .82; x = 4.36, SD = .78)
อภิปรำยผล
1. ผลการน านวัตกรรมฯ ไปใช้ พบว่า สามารถลดระยะเวลาและขั้นตอนในการปรึกษาแพทย์เวรเฉพาะ
ทาง เนื่องจากนวัตกรรมฯ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลตารางเวรแพทย์เฉพาะทางที่เป็นปัจจุบัน (Open Data)
ั
ใน Line group และส่งออกรายวันเป็นอตโนมัติ แพทย์เวรผู้ขอรับค าปรึกษากดหมายเลขโทรออก
ที่ปรากฏบน LINE group เพยง 1 ครั้ง สามารถปรึกษาแพทย์เวรเฉพาะทางในวันนั้นๆ ได้ทันที และเจ้าหน้าที่
ี
ั
งานประชาสัมพนธ์ตั้งค่าโอนสายไปยังแพทย์เวรเฉพาะทางในวันนั้น ๆ เพยงวันละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ ยังลดค่า
ี
เครื่องโทรศัพท์ส านักงานส าหรับติดต่อและโอนสายเหลือเพยง 1 เครื่องซึ่งสามารถโอนสายได้หลายเบอร์
ี
ลดค่าใช้จ่ายส าหรับค่าบริการโทรศัพท์ลงได้ 21,240 บาท/เดือน จากเดิมการปรึกษาเฉลี่ยรายละ 5 นาที ๆ ละ
3 บาท x 50 ราย/วัน x 30 วัน คิดเป็นค่าบริการโทรศัพท์ส าหรับการปรึกษา 22,500 บาท/เดือน และเมื่อ
เปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายที่เกิดจากนวัตกรรมฯ ที่พฒนาขึ้น ค่าใช้จ่ายตามโปรโมชั่นซิมการ์ด เฉลี่ย 150 บาท
ั
x 8 ซิม คิดเป็น 1,260 บาท/เดือน อธิบายได้ว่า เป็นการออกแบบนวัตกรรมโดยน าระบบสารสนเทศ เพอการ
ื่
ปฏิบัติงานตามปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเชื่อมโยงข้อมูลท าให้ติดต่อสื่อสารได้รวดเร็ว
น าไปสู่การพัฒนาระบบบริหารจัดการขององค์กรที่มีประสิทธิภาพ
2. คะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.52, SD = .98;
x = 4.60, SD = .57) เนื่องจากระบบที่พัฒนาขึ้นมีการด าเนินการทดสอบระบบ ได้แก่ ความสามารถในการ
ท างานได้ตามฟงก์ชันงาน การตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ความปลอดภัยในการใช้งาน และความง่าย
ั
ต่อการใช้งานก่อนน าไปใช้งานจริง ส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศฯ
3. การไม่พบอบัติการณ์เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ หมายเลขโทรศัพท์ของแพทย์เวรหรือแพทย์
ุ
ี
เฉพาะทาง อธิบายได้ว่า การที่แพทย์เวรกดหมายเลขโทรออกที่ปรากฏบน LINE group เพยง 1 ครั้ง สามารถ
ติดต่อแพทย์เวรเฉพาะทางได้ทันทีโดยไม่ปรากฏหมายเลขโทรศัพท์ของทั้งแพทย์เวรผู้ขอรับค าปรึกษา
และแพทย์เวรเฉพาะทางผู้ให้ค าปรึกษาเป็นการรักษาขอมูลส่วนบุคคลโดยตรง
้
ั
ึ
4. คะแนนเฉลี่ยความพงพอใจของแพทย์เวรผู้ขอรับค าปรึกษาและเจ้าหน้าที่งานประชาสัมพนธ์
โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.36, SD = .82; x = 4.36, SD = .78) อธิบายได้ว่า ความเหมาะสม
ั
ของนวัตกรรมที่พฒนาขึ้น ได้แก่ ด้านอรรถประโยชน์ ด้านความเป็นไปได้ ด้านความเหมาะสม และด้านความ
ถูกต้องครอบคลุม เป็นส่วนส าคัญที่ท าให้ผู้ใช้นวัตกรรมเกิดความพึงพอใจ
สรุปและข้อเสนอแนะ
ั
ื่
นวัตกรรม “One click one specialist” เป็นการน าระบบสารสนเทศเพอพฒนาระบบบริการสุขภาพ
ที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดระยะเวลาและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่ายส าหรับอปกรณ์สื่อสาร
ุ
และค่าบริการโทรศัพท์ ลดความเสี่ยงต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล อกทั้งยังช่วยลดโอกาสสูญเสียต่อ
ี
ั
ผู้รับบริการได้ อย่างไรก็ตาม ในระยะต่อไปควรมีการพฒนาระบบสารสนเทศ เพอป้องกันความคลาดเคลื่อนที่
ื่
เกิดจากตัวบุคคล เช่น ลืมตั้งค่าโอนสาย หรือการเปลี่ยนเวรแพทย์เฉพาะทางโดยมิได้เปลี่ยนใน Google sheet
เป็นต้น
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 46