Page 52 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 52
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์ค้นหาปัญหา ด าเนินการค้นหาปัญหาการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วย
โดยการสนทนากลุ่มร่วมกับทีมพยาบาลส่งต่อผู้ป่วย จ านวน 10 ราย และสนทนาร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
จ านวน 13 ราย รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกรายงานการส่งต่อผู้ป่วย และสนทนาร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
จ านวน 13 ราย
ั
ขั้นตอนที่ 2 การพฒนารูปแบบการส่งต่อด าเนินการพฒนารูปแบบการส่งต่อและแนวปฏิบัติการ
ั
พยาบาลโดยใช้วงจร PAOR 5 ได้แก่ ขั้นวางแผน (Plan) ขั้นปฏิบัติตามแผน (Act) ขั้นสังเกตผล (Observe)
และขั้นสะท้อนผล (Reflect)
ั
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผล ประเมินจากประสิทธิผลของการพฒนารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยโรคหัวใจ
ขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI โดยวัดอัตราการเสียชีวิต อาการไม่พึงประสงค์จากการได้รับยา SK ขณะน าส่ง
อัตราการได้รับการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ การท าบอลลูนขยายหลอดเลือดหัวใจและการผ่าตัดต่อเส้นเลือดหัวใจ
ผลกำรศึกษำ
1) การวิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์ค้นหาปัญหา พบว่า เจ้าหน้าที่ รพสต. ไม่ทราบแนวทางและอาการ
็
ผู้ป่วยที่ต้องส่งมาโรงพยาบาลเพญ พยาบาลขาดสมรรถนะในการแปลผลคลื่นไฟฟาและการดูแลผู้ป่วยในภาวะ
้
วิกฤต การขอค าปรึกษาไม่ชัดเจน และรถ Ambulance ไม่พร้อมใช้งาน ผู้ป่วยล่าช้าในการได้รับการดูแล
ด้วยวิธีสวนหัวใจ การฉีดสี และการใช้บอลลูนเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจ
ั
2) การพฒนารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI โดยใช้วงจร PAOR
วงรอบที่ 1 มีการพฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพสต. อาการผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI
ั
จัดท า CPG การดูแลเบื้องต้นก่อนน าส่งโรงพยาบาลเพญ มีช่องทางด่วนประสาน EMS ออกรับส่วนใน
็
โรงพยาบาลเพญ มีการพฒนาศักยภาพในการแปลผลคลื่นไฟฟา จัดท า CPG แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
้
็
ั
ขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI มีช่องทางด่วนในการขอค าปรึกษาจากแพทย์ และการเตรียมความพร้อม
ของรถ Ambulance การสะท้อนผล พบว่า ระหว่างน าส่งไม่มีแนวทางปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจขาด
เลือดเฉียบพลันชนิด STEMI วงรอบที่ 2 พฒนาแนวทางการพยาบาลการส่งต่อผู้ป่วย การจัดเตรียมวัสดุ
ั
ุ
ื่
อปกรณ์ เช่น เครื่อง Defibrillator ส ารองและการจัดท าแนวทางการดูแล STEMI TIME RECORD เพอส่งต่อ
ื่
ผู้ป่วยส่งได้ทันเวลาในการท าหัตถการด้วยวิธีสวนหัวใจ การฉีดสี และการใช้บอลลูนเพอขยายหลอดเลือดหัวใจ
การสะท้อนผล พบว่า กรณีผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI มีปัญหาซับซ้อนและเสี่ยงต่อ
ั
การเสียชีวิต จึงต้องใช้พยาบาลส่งต่อ จ านวน 2 รายทุกครั้ง วงรอบที่ 3 พฒนาความปลอดภัยของรถ Refer
สะท้อนผล พบว่า มีการก าหนดมาตรฐานส่งต่อตามหลัก BWAGON
3) การประเมินผล พบว่า อตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยขณะน าส่ง ร้อยละ 0 การเกิดเหตุการณ์
ั
ึ
ื่
ที่ไม่พงประสงค์ ร้อยละ 0 ผู้ป่วยได้รับการดูแลด้วยวิธีสวนหัวใจ การฉีดสี และการใช้บอลลูนเพอขยาย
หลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 80
กำรอภิปรำยผล
ั
การขับเคลื่อนการส่งต่อให้มีคุณภาพ ควรพฒนาระบบการส่งต่อให้ครบทุกด้าน ทั้งด้านบุคลากร
ิ่
อปกรณ์ กระบวนการจัดการ และงบประมาณ เพอเพมประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย ก่อนส่งต่อ ขณะส่งต่อ
ุ
ื่
และหลังการส่งต่อ และอีกทั้งยังมีการพัฒนางานที่เป็นระบบ
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการศึกษาและวิเคราะห์บริบทของหน่วยงานทั้งด้านอุปกรณ์กระบวนการจัดการเพื่อเป็นข้อมูล
ในการน ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
2. ควรมีการพัฒนาการบันทึกการส่งต่อให้ได้มาตรฐาน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 48