Page 51 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 51
ผลกำรพัฒนำ Refer คุณภำพ : BETTER REFER STEMI Phen Hospital
นางสาวศิริพร ธรรมราช
กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาลเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี เขตสุขภาพที่ 8
ควำมเป็นมำของปัญหำวิจัย
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI หมายถึง กล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดมาเลี้ยงจนเกิด
้
การตายของกล้ามเนื้อท าให้ขาดเลือดมาเลี้ยงเฉียบพลัน และมีคลื่นไฟฟาหัวใจผิดปกติชนิด ST ยก เป็นสาเหตุ
ั
การเสียชีวิตอนดับหนึ่งของประชากรทั่วโลก โดยในปี 2562 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 17.9 ล้านคน หรือคิดเป็น
ั
ร้อยละ 31 ของอตราการเสียชีวิตทั่วโลก สาเหตุเกิดจากความล่าช้าในการดูแลรักษาในการเปิดหลอดเลือด
้
หัวใจ การประเมินการคัดกรอง การตรวจคลื่นไฟฟา และการรายงานผลต่อแพทย์เฉพาะทาง การวินิจฉัย
และการตัดสินใจดูแลรักษา การให้ยาละลายลิ่มเลือด ร้อยละ 51.7 (องค์การอนามัยโลก, 2558) ในประเทศ
ิ่
ไทยพบโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ว่ามีแนวโน้มเพมสูงขึ้นจาก 7.01 ต่อแสนประชากร
ในปี 2562 เพิ่มเป็น 11.39 ต่อแสนประชากรในปี 2564 มีอัตราการเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มสูงขึ้น เขตพื้นที่จังหวัด
ุ
อดรธานีเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พบว่า ผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคกล้ามหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด
ุ
STEMI โดยคิดเป็นร้อยละ 7.48 (ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอดรธานี, 2565) และจากสถิติของโรงพยาบาล
ุ
็
เพญตั้งแต่ปี 2563 - 2565 พบว่า ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI มารับบริการห้องอบัติเหตุ-
ฉุกเฉิน และได้วินิจฉัยตามรหัสโรค ICD-10 ตามหลัก WHO รหัส 121.0 - 121.3 ซึ่งมีจ านวน 10, 23 และ 26
ั
พบอตราการเสียชีวิต คิดเป็นร้อยละ 11.46, 11 และ 0 ตามล าดับ ซึ่งพบว่ามีจ านวนผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด
เฉียบพลันชนิด STEMI มีแนวโน้มเพมสูงขึ้นทุกปี (เวชระเบียนผู้ป่วยหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI
ิ่
โรงพยาลเพ็ญ, 2565) โรงพยาบาลเพ็ญยังไม่สามารถให้การรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด
STEMI ด้วยวิธีสวนหัวใจ การฉีดสี และการใช้บอลลูนเพอขยายหลอดเลือดหัวใจได้ ดังนั้น จึงต้องมีการส่งต่อ
ื่
ื่
ผู้ป่วยเพอรับการรักษาในโรงพยาบาลศูนย์อดรธานีที่มีศักยภาพเพยงพอจากสภาพการปฏิบัติงาน พบว่า
ุ
ี
การส่งต่อยังติดขัดเรื่องการประสานงานระหว่างพยาบาลต้นทางและโรงพยาบาลปลายทาง การติดต่อสื่อสาร
ใช้เวลาในการติดต่อนานระหว่างพยาบาลน าส่ง มีความเข้าใจไม่ตรงกัน และขาดความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วย
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ท าให้มีโอกาสเสี่ยงในการเกิดเหตุการณ์ไม่พงประสงค์ขึ้น
ึ
เช่น การเสียชีวิตของผู้ป่วยขณะส่งต่อ ความล่าช้าในการเปิดหลอดเลือดหัวใจเป็นต้น ดังนั้นแพทย์และพยาบาล
สามารถก าหนดขั้นตอนและกระบวนการในการรักษาพยาบาลโดยเร่งด่วนเมื่อผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล เพอให้
ื่
เกิดประสิทธิภาพในการดูแลรักษาเป็นต้น
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
ื่
ั
ื่
ิ่
เพอพฒนารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI และเพอเพม
ประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด
และลดการเสียชีวิตผู้ป่วยขณะส่งต่อ
วิธีกำรศึกษำ
การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้
1) วิเคราะห์สถานการณ์ค้นหาปัญหา
2) การพัฒนารูปแบบการส่งต่อ
3) การประเมินผล
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 47