Page 557 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 557
O32
อภิปรายผล
หลังจากได้มีการสร้างนวัตกรรม FIT FOR FACE ต่อการฟื้นฟูใบหน้า โดยหลักการของการตอบสนอง
ทางชีวะ (Biofeedback) และการกระตุ้นการตอบสนองของร่างกายโดยให้กระจก (Mirror biofeedback)
ที่ใช้อุปกรณ์เหลือใช้ในส านักงานมาสร้างเป็นนวัตกรรมที่ช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อใบหน้า ประกอบด้วย การนวดหน้า
การบริหารกล้ามเนื้อใบหน้า และการฝึกพูด ในผู้ป่วย IMC ที่มีปัญหา Facial palsy โดยก่อนที่จะน านวัตกรรม
ไปใช้ในผู้ป่วยจริง ได้ผ่านการส ารวจความพึงพอใจและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แพทย์เวช
ศาสตร์ฟื้นฟูและนักกายภาพบ าบัด ได้ระดับความพึงพอใจมากหรือมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95 ซึ่งมากกว่าร้อย
ละ 90 ที่ตั้งเป้าหมายไว้ จากนั้นพัฒนานวัตกรรมแล้วน าไปใช้ในผู้ป่วยจริง และส ารวจความพึงพอใจและ
ข้อเสนอแนะของผู้ป่วยที่ใช้นวัตกรรม โดยระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากหรือมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98
การส ารวจดังกล่างจะท ามาซึ่งการพัฒนาให้ได้นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพและสามารถใช้งานได้จริงในผู้ป่วยที่มี
ปัญหากล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง
สรุปและข้อเสนอแนะ
6.1 เมื่อยังไม่ได้ใช้ผลงานพัฒนา / คิดค้น
6.1.1 มีนวัตกรรมที่ช่วยฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่สามารถเพิ่มความเเข็งแรงของ
กล้ามเนื้อใบหน้าในผู้ป่วยที่มีปัญหา Facial palsy
6.1.2 ทราบถึงความพึงพอใจและประสิทธิภาพการฟื้นฟูความเเข็งแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า
และการพูดของนวัตกรรม “Fit For Face”
6.1.3 ผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) สามารถฟื้นฟูตนเองได้ทั้งที่บ้านและที่โรงพยาบาล
6.2 หลังจากที่ได้ใช้ผลงานพัฒนาได้นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ก่อนที่จะถูกน าไปใช้กับผู้ป่วย
ปัญหาหรือความท้าทายที่เกิดขึ้นในระหว่างด าเนินการโครงการ มีการน าร่องโดยการส ารวจความพึงพอใจของ
นักกายภาพบ าบัดต่อนวัตกรรม ก่อนที่จะน าไปใช้ในผู้ป่วยจริง เพื่อพัฒนาให้นวัตกรรมมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ก่อนจะน านวัตกรรมไปใช้จริงในผู้ป่วยเเละส ารวจความพึงพอใจของผู้ป่วยหลังจากใช้งานนวัตกรรม ในอนาคต
วางเเผนที่จะและเก็บข้อมูลเรื่องประสิทธิภาพของนวัตกรรมต่อการฟื้นฟูกล้ามเนื้อใบหน้าผู้ป่วยผ่านทาง
Telemedicine และโปรเเกรม Smart IMC sakonnakhon ในการติดตามผู้ป่วย
6.3 ข้อเสนอแนะหลังจากสร้างและพัฒนานวัตกรรมแล้ว โดยการส ารวจความพึงพอใจในการใช้งาน
วางแผนให้มีการวัดประสิทธิภาพของนวัตกรรมในการฟื้นฟูกล้ามเนื้อใบหน้าของผู้ป่วยโดยเเบบประเมิน
National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS) และส ารวจความพึงพอในการใช้นวัตกรรมของผู้ป่วย
ในอนาคตหากพัฒนานวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพทั้งความพึงพอใจของผู้ใช้งานและมีประสิทธิภาพในการฟื้นฟู
ใบหน้าแล้ว จะได้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นสามารถน ามาใช้ได้ทั้งในโรงพยาบาล ในเเผนกกายภาพบ าบัด ในหอผู้ป่วย
และผู้ป่วยสามารถน ากลับไปใช้ที่บ้านได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด