Page 743 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 743
T30
9. จัดการนำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
10. เก็บรวบรวมข้อมูลหลังหลังการใช้ Care map
11. ประเมินผลและติดตามทุก 1 เดือน
12. สรุปผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน
ผลการศึกษา
ฝ่ายประคับประคองโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ มีเก็บรวบรวมข้อมูลข้อมูลตั้งแต่ 1 ตุลาคม
2566 - 31 มีนาคม 2567 ในกลุ่มผู้ป่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ปี 2566 จำนวน 394 ราย
ปี 2567 จำนวน 168 คน ในกลุ่มลงรหัส ICD10, Z515 และ Z718
ตัวชี้วัด ปี2566 ปี2567
ใช้รูปแบบCare Map ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ร้อยละ 0 78
มีแนวทางการวางจำหน่ายในผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองอย่าง ร้อยละ 0 83
เหมาะสม
วันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง วัน/ราย 5.9 4.2
ความพึงพอใจของผู้ป่วยและครอบครัว ร้อยละ 85 88
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 0 91
ของสหสาขาวิชาชีพให้ไปในทิศทางเดียวกัน
อภิปรายผล
1. การพัฒนารูปแบบกระบวน Care map ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
ในโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
2. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันของทีมสหวิชาชีพ และปฏิบัติตามมีแนวคิดในการใช้
กระบวนการวางแผนการดูแลแบบองค์รวม แนวทางการวางจำหน่ายที่เหมาะสม
3. ผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองและครอบครัวได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพ
สรุปและข้อเสนอแนะ
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง( Palliative care ) ในโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ได้รับ
การดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุม 4 มิติ มีแนวทางปฏิบัติที่มีมาตรฐาน วางแผนการดูแลและกำหนดเป้าหมาย
การดูแลในระยะเวลาที่เหมาะสม บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจของสหสาขาวิชาชีพให้ไปในทิศทางเดียวกัน
ส่งผลให้ผู้รับบริการได้ประโยชน์และมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะสุดท้ายของชีวิต
เอกสาร/รูปภาพประกอบ