Page 534 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 534

M19


                  และแผนการดูแลผู้ป่วยสมองตายที่เข้าเกณฑ์ผู้บริจาคอวัยวะ โดยผู้ศึกษาทำหน้าที่เป็นพยาบาลผู้จัดการ
                  รายกรณี แสดงบทบาทในการค้นหา donor ประเมิน วิเคราะห์ปัญหา ปฏิบัติและกำกับการปฏิบัติของทีมดูแล
                  ประสานความร่วมมือกับสหสาขาวิชาชีพและสภากาชาดไทย ประเมินผลลัพธ์การดูแลใน 3 ระยะใหญ่ๆ ได้แก่

                  1) ระยะก่อนการวินิจฉัยสมองตาย 2) ระยะดำเนินการวินิจฉัยสมองตาย 3) ระยะหลังวินิจฉัยสมองตาย
                  ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองตายที่เข้าเกณฑ์การบริจาคอวัยวะ รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช
                  ตั้งแต่ปี 2560-2567 จำนวน 50 ราย จำนวนผู้ป่วยสมองตายที่ยินยอมบริจาคอวัยวะ 17 ราย พยาบาลวิชาชีพ
                  ประจำหอผู้ป่วย 20 คน พยาบาลผู้จัดการรายกรณี 2 คน โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกผู้ป่วย coma
                  score 2T เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แนวปฏิบัติการค้นหาผู้เข้าข่ายบริจาคอวัยวะ คู่มือการดูแลผู้บริจาค

                  อวัยวะที่มีภาวะสมองตายและประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ แบบบันทึกประสิทธิภาพการบริจาคอวัยวะ
                  การวิเคราะห์ข้อมูล แบบประเมินความรู้ความเข้าใจของพยาบาลประจำหอผู้ป่วย คะแนนความพึงพอใจในการ
                  ปฏิบัติงานของบุคลากรสหสาขาวิชาชีพ ระยะเวลาตามมาตรฐานกระบวนการวินิจฉัยภาวะสมองตายทั้ง

                  3 ระยะ อุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดระหว่างการดูแล donor
                  กำหนดรูปแบบบทบาทของพยาบาลผู้จัดการรายกรณีดังนี้
                   1. ระยะก่อนการวินิจฉัยสมองตาย
                   - ค้นหาผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ มี coma score 2T ครบ 6 ชม.       -มีระบบการค้นหา Potential Donor

                   - เจรจากับครอบครัว Potential Donor                         - Potential Donorได้รับการเจรจาทุก
                   - ตรวจสอบรายละเอียดของ Potential Donor                     เคสหลังอยู่ใน coma score 2T ครบ 6
                   - ประสานแพทย์เจ้าของไข้ทราบ                                ชม.เวลาไม่เกิน 48 ชม
                  2. ระยะวินิจฉัยสมองตาย

                  - ประสานทีมแพทย์ 3 ท่าน                                    -Donor ได้รับการวินิจฉัยสมองตายครบ
                  - เตรียมผู้ป่วย เตรียมอุปกรณ์ เอกสาร ช่วยแพทย์ทำการตรวจ    2ครั้งในระยะเวลาไม่เกิน 10 ชม.
                  ครบ 2 ครั้ง                                                -Donor มีภาวะคงที่ตลอดการทำวินิจฉัย
                  - ให้ข้อมูลแก่ครอบครัว และขออนุญาตดำเนินการขอรับริจาคอวัยวะ

                  - ประสานสภากาชาดไทยในกระบวนการบริจาคอวัยวะ
                  3. ระยะหลังวินิจฉัยสมองตาย                                  -ไม่มีอุบัติการณ์ donor เสียชีวิต
                                                                              -อวัยวะมีคุณภาพสำหรับนำไปปลุกถ่าย
                  - ให้การพยาบาลที่สอดคล้องตามสภาพปัญหาของ Donor              -สิ้นสุดกระบวนการบริจาคอวัยวะภายใน

                  - ควบคุมระยะเวลาให้เหมาะสมในการผ่าตัดอวัยวะออก              ระยะเวลาไม่เกิน 3 วัน
                  - ดูแล ให้ข้อมูล ครอบครัวผู้บริจาคอวัยวะ อย่างต่อเนื่อง

                   4. ผลการศึกษา
                         พบว่า 1) ระยะก่อนวินิจฉัยสมองตาย มีจำนวนผู้ป่วยสมองตายที่ได้รับการเจรจาจากพยาบาลประจำ
                  หอผู้ป่วย คิดเป็นร้อยละ 10 มีจำนวนผู้ป่วยสมองตายที่ได้รับการเจรจาจากพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ร้อยละ

                  90 มีจำนวนผู้ป่วยสมองตายที่ยินยอมบริจาคอวัยวะ 17 รายคิดเป็นร้อยละ 34 ผู้บริจาคอวัยวะสมองตาย
                  ที่เจรจาสำเร็จ 17 ราย และจัดเก็บอวัยวะได้ 7 รายอีก 10 ราย ผลทางห้องปฏิบัติการไม่ผ่านเกณฑ์ ระยะเวลา
                  เฉลี่ยได้รับการเจรจาหลังอยู่ใน coma score 2T ครบ 6 ชม. เร็วสุดภายใน 10 ชม. คิดเป็นร้อยละ 76 ภายใน
                  30 ชม จำนวน  8 ราย  2) ระยะเวลาวินิจฉัยสมองตายภายในเวลา 10 ชม.คิดเป็นร้อยละ 76 นานกว่า 10 ชม.

                  คิดเป็นร้อยละ 23 จำนวนอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์ Donor เสียชีวิต  0 ราย 3) ระยะหลังวินิจฉัยสมองตาย
                  จำนวนอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์ Donor เสียชีวิต 0 ราย สามารถนำอวัยวะหลังผ่าตัดไปปลูกถ่ายได้ 7 ราย
                  คิดเป็นร้อยละ 100ระยะเวลาเฉลี่ยในกระบวนการบริจาคอวัยวะ 3 วัน
   529   530   531   532   533   534   535   536   537   538   539