Page 695 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 695

Q7


















                  ผลการศึกษา

                         ในช่วงเริ่มต้นดำเนินโครง RLU เก็บอัตราของตัวชี้วัดโดยเก็บเป็นร้อยละ ในปี 2565 (ม.ค.65-ธ.ค.65)
                  นำมาเทียบกับหลังจากดำเนินการระบบ RLU แล้วในปี 2566 (ม.ค.66-ธ.ค.66) มีทบทวนปัญหาจัดทำแนว
                  ทางแก้ไขร่วมกัน ดังข้อมูลที่ระบุตารางที่ 1 ตัวชี้วัด RLU และกราฟที่ 1 ตัวชี้วัด RLU
                  อภิปรายผล

















                         สาเหตุหลักที่ทำให้เกิด RLU ที่ไม่ประสบความสำเร็จ คือการสื่อสารและข้อมูลระหว่างผู้ใช้LABดังนั้น

                  การสื่อสารที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญในการช่วยให้ RLUประสบความสำเร็จ ทั้งข้อมูลรายการLab และกระบวนการ
                  ประสานงานระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน และควรนำเทคโนโลยี (pop-up)มาเป็นเครื่องมือที่ช่วยใน
                  การสั่งLAB เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการสั่งตรวจรวมถึงการทวนสอบรายการLAB และสามารถลดภาระ
                  ค่าใช้จ่ายด้านLABได้ แต่อย่างไรก็ตามควรคำนึงถึงการตรวจLAB ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไปเพื่อให้ผู้ป่วย

                  ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างสมเหตุผล

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                         1. จัดทำคู่มือแนวทางการใช้การพัฒนาระบบ RLU การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อย่าง
                  สมเหตุผล (Rational Lab Use) ในโรงพยาบาลภักดีชุมพล ให้กับแพทย์ทุกราย เนื่องจาก รพ.ภักดีชุมพลมี
                  แพทย์หมุนเวียน ทุก 2 ปี

                         2. ควรมีการสั่งใช้ Lab การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อย่างสมเหตุผล (Rational Lab
                  Use) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้มารับบบริการ
   690   691   692   693   694   695   696   697   698   699   700