Page 743 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 743

R20



                                - ปัจจัยที่อาจส่งผลต่อผลลัพธ์ที่ดีขึ้น :
                                        - เพิ่มจำนวนนักกายภาพบำบัดในห้องกายภาพบำบัดจาก 1 คน เป็น 3 คน ในช่วงเช้า

                  และเพิ่มอีก 1 คน ในช่วงบ่าย
                                        - ทำให้มีกำลังคนเพียงพอต่อการติดตามและประเมินคะแนนอาการปวดหลัง
                  ของผู้ป่วยแต่ละราย
                         2. เปรียบเทียบผลลัพธ์ระดับคะแนนอาการปวดหลัง
                                - แผนภูมิแท่งที่ 1 : แสดงแนวโน้มของผลลัพธ์ระดับคะแนนอาการปวดหลัง ในปีงบประมาณ

                  2564, 2565 และ 2566
                                - ผลลัพธ์ : คะแนนอาการปวดหลังมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในทั้ง 3 ปี
                                - ปีงบประมาณ 2565 มีร้อยละของผู้ป่วยอาการปวดหลังที่มีระดับคะแนนอาการปวดหลัง

                  ลดลง 2 ระดับ ภายใน 7 ครั้ง สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2564 และ 2566

                   แผนภูมิแท่งที่ 1 ร้อยละของผู้ป่วยอาการปวดหลังมีระดับคะแนนอาการปวดหลังลดลง 2 ระดับภายใน 7 ครั้ง
                                   เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 และปีงบประมาณ 2566

                       90.00
                                                                 89.01
                       89.00

                       88.00

                       87.00

                      ร้อยละ  86.00                                                         85.61


                       85.00
                                       84.34
                       84.00

                       83.00

                       82.00
                                    ปีงบประมาณ 2564            ปีงบประมาณ 2565            ปีงบประมาณ 2566
                                                                ปีงบประมาณ


                  อภิปรายผล
                         1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
                                - การกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน: ทำให้มี accountability ส่งผลต่อการทำงานตามแผนงาน

                                - การให้ความสำคัญกับการรวบรวมข้อมูล: ข้อมูลครอบคลุมและครบถ้วน นำมาวิเคราะห์
                  เพื่อปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย
                                - การปรับปรุงแผนการรักษาทางกายภาพบำบัด: เหมาะสมต่อผู้ป่วยแต่ละราย ช่วยเพิ่ม
                  ประสิทธิภาพในการรักษา

                                - การติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง: ช่วยให้ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการรักษาได้อย่างมี
                  ประสิทธิภาพและสามารถจำหน่ายผู้ป่วยได้เร็วขึ้น
                         2. ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล ช่วยให้เข้าใจผลลัพธ์ของการรักษา และช่วยให้ระบุจุดอ่อน
                  และจุดแข็งของโปรแกรมการรักษา รวมถึงเป็นการให้ปรับปรุงโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
   738   739   740   741   742   743   744   745   746   747   748