Page 803 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 803

T29
































                  อภิปรายผล
                         การถอดถอนเครื่องพยุงชีพที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในผู้ป่วยระยะท้ายตามการตัดสินใจของผู้ป่วยหรือญาติ เป็น
                  ช่วยลดความทุกข์ทรมานจากการยื้อชีวิตและอนุญาตให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อย่างไรก็ตามยังคง
                  เป็นเรื่องละเอียดอ่อนในสังคมไทย มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทั้งผู้ในบริการและผู้รับบริการ รวมถึงมีบริบททางความเชื่อ

                  วัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วย ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องมีการทำความเข้าใจกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างแนวปฏิบัติ
                  มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อการดูแลอย่างเป็นองค์รวม โรงพยาบาลบุรีรัมย์ได้มีการพัฒนาระบบการถอด
                  ถอนเครื่องพยุงชีพขึ้น ผู้ป่วยที่ได้รับการถอดถอนเครื่องพยุงชีพมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหลังจากมีการเปิดหอผู้ป่วย

                  ประคับประคอง
                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                      •  ความเข้าใจและทัศนคติของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีบทบาทสำคัญในกระบวนการถอดถอนเครื่องพยุงชีพใน
                         โรงพยาบาล
                      •  การมีหอผู้ป่วยประคับประคองและพยาบาลเฉพาะทางด้านการดูแลประคับประคอง ทำให้เกิดการปฏิบัติจริงและ

                         เป็นต้นแบบการดูแลหลังการถอดถอนเครื่องพยุงชีพในโรงพยาบาล
                      •  อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ยังเป็นเรื่องละเอียดอ่อนในเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การผลักดันให้กระบวนการนี้เกิดขึ้นต้องใช้
                         เวลาและต้องแสดงให้เห็นเป็นแบบอย่าง ให้เจ้าหน้าที่จากหอผู้ป่วยต่างๆ เกิดความมั่นใจ สร้างทัศนคติที่ดี ในการ
                         ดูแลผู้ป่วยและครอบครัวอย่างเป็นองค์รวม
                      •  หน่วยดูแลผู้ป่วยประคับประคอง มีแผนให้เกิดระบบการถอดถอนเครื่องพยุงชีพ ในหอผู้ป่วยวิกฤติ หอผู้ป่วยกึ่ง

                         วิกฤติ และหอผู้ป่วยสามัญต่อไป
   798   799   800   801   802   803   804   805   806   807