Page 420 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 420
2. การจัดอบรมให้ความรู้กับพระภิกษุในวัดทั่วประเทศ โดยวิทยาลัยในสังกลัดสถาบันพระบรมราช
ชนก กำหนดรูปแบบการอบรมประกอบด้วยการให้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เป็นระยะเวลา ๕ วัน
๓. ทำวิจัยติดตามประเมินผลการฝึกอบรมความรู้กับพระภิกษุในวัดทั่วประเทศ
3. ขั้นการประเมินผล (Check)
3.1 ประเมินผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการและความพึงพอใจต่อโครงการ
3.2 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินโครงการ
4. ขั้นนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (ACT)
4.1 ประชุมสรุปผลและกำหนดแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งต่อไป
4.2 จัดทำเอกสารสรุปโครงการ
9. งบประมาณ
๑. งบประมาณจากสถาบันพระบรมราชชนก 4,741,990 บาท (สี่ล้านเจ็ดแสนสี่หมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยเก้า
สิบบาทถ้วน)
๒. งบประมาณจากการบริจาค จำนวนเงินรวม ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน)
10. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด เกณฑ์ การประเมินผล
๑. ร้อยละของพระภิกษุกลุ่มเป้าหมายของการอบรม ร้อยละ 80 การตรวจสอบรายชื่อพระภิกษุที่
ที่ได้เข้ารับการอบรม เข้าร่วมโครงการ
๒. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม ที่มีองค์ ร้อยละ 90 ให้ใช้แบบสอบถามประเมินก่อน
ความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพและ และหลังการอบรม
ป้องกันโรค เพิ่มมากขึ้นภายหลังได้รับการอบรม
๓. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม ที่มีความรู้ ร้อยละ ๙0 แบบสังเกตการสาธิตย้อนกลับการ
และทักษะในการบริบาลพระภิกษุไข้ในระดับดีขึ้น ปฏิบัติทักษะต่าง ๆ
ไป
11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีแกนนำ “พระบริบาลภิกษุไข้” ที่สามารถดูแลพระภิกษุอาพาธ ให้การสร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค ช่วยเหลือดูแลเบื้องต้น ปฐมพยาบาล และช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของ
พระภิกษุ
๒. พระภิกษุสามารถถ่ายทอดความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพแก่ชุมชน และดำรงตนเป็นตัวอย่างที่ดีด้านสุขภาพ
๓. สถาบันพระบรมราชชนกได้สร้างภาพลักษณ์ในการเป็นผู้นำในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพ
พระสงฆ์ทั่วประเทศ
๔. ข้อค้นพบจากการวิจัยประเมินผลโครงการ สามารถนำไปเป็นข้อมูลนำเข้าในการกำหนดนโยบาย
สุขภาพด้านการดูแลสุขภาพพระสงฆ์ในระดับประเทศ
11