Page 692 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 692
82
2. ถือสิ่งของที่เคลื่อนยAายใหAอยู:ใกลAกับร:างกาย
3. ถือสิ่งของอยู:กึ่งกลางจุดศูนยQกลางของแรงถ:วง
4. ใชAกลAามเนื้อมัดใหญ:ในการทำงานที่ตAองใชAกำลังมาก
5. ใชAน้ำหนักตนเองในการช:วยเคลื่อนยAายวัตถุ สิ่งของ
6. ใชAการดัน การดึง หรือการหมุนผลักสิ่งของแทนการยก
7. ขณะยกสิ่งของควรแยกเทAาออก เพื่อใหAมีความมั่นคง
8. หลีกเสี่ยงการยืดกลAามเนื้อ หรือการบิดกลAามเนื้อขณะเคลื่อนยAายสิ่งของ
9. การยกสิ่งของใหAอยู:ในท:าหลังตรง และย:อเข:า แทนการกAมหลัง
10. มีการหยุดพักเป+นช:วง ๆ ในระหว:างการทำกิจกรรม
11. หาผูAช:วยเหลือหรืออุปกรณQผ:อนแรง
12. เกร็งกลAามเนื้อหนAาทAองและกลAามเนื้อสะโพกก:อนยกสิ่งของเพื่อป|องกันการบาดเจ็บ
ของกลAามเนื้อหลัง
13. เคลื่อนไหวร:างกายอย:างนุ:มนวล ประสานกัน และเป+นจังหวะ
การจำกัดการเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหวทำใหAมนุษยQสามารถปฏิบัติกิจกรรมต:าง ๆ ไดA เป+นปฏิกิริยาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดย
อัตโนมัติแมAในเวลาหลับ บุคคลที่เคลื่อนไหวร:างกายไดAตามปกติ ระบบต:าง ๆ ของร:างกายก็จะทำหนAาที่ไดA
ตามปกติ ส:วนการจำกัดการเคลื่อนไหว คือ สภาพร:างกายที่ไม:มีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวนAอยกว:าปกติ
สาเหตุมาจากความเจ็บปvวย จนทำใหAไม:สามารถเคลื่อนไหวร:างกายไดA หรือ
เคลื่อนไหวร:างกายไดAอย:างจำกัด เช:น เสAนประสาทไขสันหลังถูกทำลาย การใส:เฝอก อาการเจ็บปวด
ที่รุนแรง เป+นตAน ระดับของการจำกัดการเคลื่อนไหวแบ:งออกเป+น 3 ระดับ คือ
1. การจำกัดการเคลื่อนไหวอย:างสมบูรณQ นั่นคือผูAปvวยไม:สามารถเคลื่อนไหวหรือกระทำ
กิจกรรมใด ๆ ไดA เช:น ผูAปvวยหมดสติ ผูAปvวยที่อยู:ในระยะรุนแรงของโรคและแพทยQมีคำสั่งการรักษาใหA
จำกัดการเคลื่อนไหวอย:างสมบูรณQ (absolute bed rest) เป+นตAน
2. การจำกัดการเคลื่อนไหวเพียงบางส:วน เช:น ผูAปvวยกระดูกขาหักไดAรับการรักษาดAวย
การเขAาเฝอก ผูAปvวยที่ใชAเครื่องช:วยหายใจ เป+นตAน
3. การจำกัดการเคลื่อนไหวเพื่อใหAร:างกายไดAพักผ:อน เช:น ผูAปvวยที่มีไขAสูง ผูAปvวยปวดหลัง
ผูAปvวยภาวะแทAงคุกคาม เป+นตAน
ระดับความตAองการความช:วยเหลือจากบุคคลอื่นจะแตกต:างกัน โดยผูAปvวยที่ไม:สามารถ
เคลื่อนไหวร:างกายไดAอย:างสมบูรณQจะตAองการความช:วยเหลือจากผูAอื่นในการช:วยเคลื่อนไหวร:างกาย