Page 53 - เล่มกลุ่มวัย 5 ปี 66-70 ver.6 160666 Edit
P. 53
๓. เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย
ผลงานที่ ค่าเป้าหมาย
เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ผ่านมา ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
(Goal) (ผู้รับผิดชอบ) (ปี
2565)
๑) ปัญหาการเจ็บและป่วย ๑.๑) อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิด 26.1 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน
ตายที่สำคัญใน มีชีพแสนคน 17 17 17 17 17
ระดับประเทศในกลุ่มวัยแม่
และเด็กลดลง
๒) เด็ก (๐ - ๕ ปี) มี ๒.๑) ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ 85.3 85 86 87 88 88
พัฒนาการสมวัย (ทักษะ สมวัย
สมองดี IQ ดี EQเด่น) 2.2) เด็กไทยมีระดับสถิติปัญญาเฉลี่ยไม่ 102.80 วัดผลปี วัดผลปี วัดผลปี วัดผลปี ไม่ต่ำ
ต่ำกว่า 103 70 70 70 70 กว่า
103
ตัวชี้วัด Proxy : ร้อยละของเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามี
พัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการ
กระตุ้นพัฒนาการด้วย
TEDA4 I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น
จนมีพัฒนาการสมวัย
๔. กลยุทธ์ มาตรการ
กลยุทธ์ที่ ๑ ผสานนโยบายระดับชาติและหน่วยงานภาคีร่วมขับเคลื่อนการเพิ่มประชากรคุณภาพดีสู่พื้นที่ต่อเนื่อง
และบูรณาการร่วมกัน (WO)
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
๑) บูรณาการนโยบาย ยุทธศาสตร์ ทุกระดับ และประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรในระบบสาธารณสุข
และสร้างกลไกในพื้นที่ เพื่อการนำแนวปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยใน
รายบุคคลให้ครอบคลุมทุกมิติ (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค)
๒) การสร้างมาตรการจูงใจจากรัฐ และมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อกระตุ้นการเพิ่มและพัฒนา
ประชากรคุณภาพ พร้อมทั้งบูรณาการภาคีกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เพื่อการสร้างและพัฒนาการจัดการระบบการบริหารงานบูรณาการ
การกำกับ การติดตาม และการประเมินผลการใช้มาตรการของรัฐเพื่อหญิงตั้งครรภ์ และการเสริมสร้าง
พัฒนาการเด็ก เพื่อเพิ่มและสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองและลูก เพื่อประชากรคุณภาพ
๓) การลดต้นทุนครอบครัวในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัย โดยการใช้ภูมิปัญญาไทยในการ
ส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างพัฒนาการเด็ก
40