Page 119 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 119
กำรพัฒนำรูปแบบกำรส่งต่อกล้ำมเนื้อหัวใจขำดเลือดชนิด STEMI
ไร้รอยต่อเครือข่ำยจังหวัดมุกดำหำร
The Development of Seamless referral models acute myocardial infarction
STEMI in Mukdahan province Network
นางฉันทนา รุ่งเรือง และนางสาวกาญจนา วงศ์อินตา
ุ
งานอุบัติเหตุและฉกเฉิน โรงพยาบาลมุกดาหาร
จังหวัดมุกดาหาร เขตสุขภาพที่ 10
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
ั
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction)
ั
เป็นภาวะฉุกเฉินของโรคหลอดเลือดหัวใจที่เป็นอนตรายถึงชีวิตอย่างเฉียบพลัน โรงพยาบาลมุกดาหารมีผู้ป่วย
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันมารับบริการในปี 2563 - 2565 จ านวน 48, 49 และ 55 ราย อตรา
ั
การเข้าถึงการรับบริการภายใน 150 นาที อยู่ที่ร้อยละ 37.3, 52, 58 และ 76 ตามล าดับ อตราการให้ยา SK
ั
อยู่ที่ร้อยละ 86.4, 87.5, 98 และ 96 อัตราได้รับยาภายใน 30 นาที อยู่ที่ 25.5, 41.5,73 และ 60.0 ตามล าดับ
ั
อตราตายรวมร้อยละ 11.9, 12.5, 10 และ 12 ตามล าดับ อตราการให้ยา SK อยู่ที่ร้อยละ 86.4, 87.5, 98
ั
และ 96 อตราได้รับยาภายใน 30 นาที อยู่ที่ร้อยละ 25.5, 41.5, 53 และ 41.6 ตามล าดับ อตราตายรวมร้อย
ั
ั
ละ 11.9,12.5, 10 และ 12 ตามล าดับ อตราการส่งต่อเพอท า PCI อยู่ที่ ร้อยละ 78.8, 94.3, 88 และ 90
ื่
ั
ื่
ตามล าดับ อัตราตายรวมร้อยละ 11.9,12.5, 10 และ 12 ตามล าดับ อัตราการส่งต่อเพอท า PCI อยู่ที่ร้อยละ
78.8, 94.3, 88 และ 90 ตามล าดับ และยังไม่สามารถให้การรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ื่
ด้วยวิธีสวนหัวใจและการใช้บอลลูนเพอขยายหลอดเลือดหัวใจได้ จึงมีการรักษาการเปิดหลอดเลือดหัวใจ
ี
โดยตรงโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด ดังนั้นจึงต้องมการส่งต่อผู้ป่วย เพื่อไปรับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
ุ
ี
ที่มีศักยภาพเพยงพอเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 10 คือ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อบลราชธานี และรับส่ง
ต่อจากโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่ายจังหวัดมุกดาหาร ได้แก่ โรงพยาบาลดอนตาล โรงพยาบาลดงหลวง
โรงพยาบาลหนองสูง โรงพยาบาลนิคมค าสร้อย โรงพยาบาลหว้านใหญ่ และโรงพยาบาลค าชะอ จากสภาพ
ี
การปฏิบัติงาน พบว่า การส่งต่อยังติดขัดทั้งเรื่องการประสานงานระหว่างสถานพยาบาลต้นทาง
และสถานพยาบาลปลายทาง การปรึกษาแพทย์ผู้เฉี่ยวชาญในการรักษาด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด
การติดต่อสื่อสาร ใช้เวลาในการติดต่อนาน รถพยาบาลและพนักงานขับรถพยาบาลที่ไม่พร้อม เครื่องมือ
และอปกรณ์ไม่ครบถ้วน ขาดแคลนอตราก าลัง การจัดการระบบข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยและแนวปฏิบัติการดูแล
ุ
ั
ผู้ป่วยในการส่งต่อ ยังมีความไม่ชัดเจน เอกสารข้อมูลผู้ป่วยในการส่งต่อไม่ครบถ้วนก่อเกิดความยุ่งยากในการ
ปฏิบัติ มีความเข้าใจที่ไม่ตรงกันและขาดความมั่นใจการดูแลผู้ป่วยขณะส่งต่อ ท าให้มีโอกาสเสี่ยงในการเกิด
ความผิดพลาดสูงขึ้นเป็นสาเหตุท าให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พงประสงค์ขึ้น เช่น การเสียชีวิตของผู้ป่วยขณะส่งต่อ
ึ
ั
ความล่าช้าในการได้รับการเปิดหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการพฒนารูปแบบ
ิ่
ื่
การส่งต่อผู้ป่วย เพอเพมประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด
และลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยขณะส่งต่อ
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI
ื่
2. เพอเพมประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด
ิ่
และลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยขณะส่งต่อ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 115