Page 124 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 124
กำรประเมินผลกำรด ำเนินงำนของศูนย์ประสำนงำนส่งต่อ โรงพยำบำลสรรพสิทธิประสงค์
นางสุปราณี ชูรัตน์, นางสาวประภาพร สุวรัตน์ชัย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ เขตสุขภาพที่ 10
ควำมส ำคัญของปัญหำ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งเน้นพัฒนาระบบบริการ
ทุกระดับ ภายใต้กรอบแนวคิด เครือข่ายบริการไร้รอยต่อ ที่ใช้ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยในการเชื่อมโยงทุกระบบ
บริการ มุ่งเน้นการท างานอย่างเป็นระบบ มีการเชื่อมประสานการดูแลผู้ป่วยเป็นเครือข่ายในแต่ละพนที่อย่าง
ื้
มีประสิทธิภาพ และด าเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ส่งผลให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
ั
ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ทั่วถึง และเป็นธรรม ลดอัตราป่วย อัตราตาย ลดความแออด และระยะเวลารอคอย
ลงได้ การพฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วยจึงมีความส าคัญอย่างยิ่งที่จะท าให้ผู้รับบริการหรือผู้ป่วยสามารถเข้าถึง
ั
บริการได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละสถานพยาบาล และได้รับการส่งต่อไปรักษาอย่างถูกต้อง
เหมาะสมและมีคุณภาพต่อไป
การด าเนินงานของศูนย์ประสานงานส่งต่อของโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จากแต่เดิม
แบ่งหน่วยงานที่รับส่งต่อผู้ป่วยเป็น 3 หน่วย ได้แก่ ศูนย์ประสานงานส่งต่อ ICU hub และหน่วยนัดผู้ป่วย
ซึ่งเป็นโครงสร้างบริหารที่ต้องใช้อัตราก าลัง และทรัพยากรจ านวนมาก บุคลากรที่ท างานอยู่เดิมโยกย้ายเปลี่ยน
ั
งาน โรงพยาบาลไม่สามารถจัดสรรอตรก าลังทดแทนได้ และด้วยโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
เป็นโรงพยาบาลแม่ข่ายระดับตติยภูมิในเขตบริการสุขภาพที่ 10 ดังนั้นจึงมีผู้ป่วยจ านวนมาก รวมถึงต้องให้การ
ดูแลรักษาผู้ป่วยแต่ละกลุ่มโรคที่มีความซับซ้อน มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ต้องเรียนรู้และปรับตัวให้ทัน
ั
การด าเนินงานที่ผ่านมาแม้จะพบว่ามีคณะกรรมการพฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย มีการบริหารจัดการทั้งในระดับ
โรงพยาบาล ระดับจังหวัด และระดับเขต เชื่อมโยงการท างานรับส่งผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาลตั้งแต่ระดับ
ตติยภูมิ ทุติยภูมิ และปฐมภูมิ การด าเนินการพบปัญหาด้านการประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ในสถานพยาบาลต่าง ๆ ในเครือข่าย แต่เนื่องจากโครงสร้างการบริหารภายในโรงพยาบาลเอง มีหน่วยงาน
รับส่งต่อผู้ป่วยหลายหน่วยงาน ท าให้เกิดความสับสนและการแยกหลายหน่วยงานที่มีลักษณะงานเดียวกัน
ี
ท าให้จ านวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานไม่เพยงพอ เกิดความเหนื่อยล้าจากการท างาน มีปัญหาการสื่อสาร ท าให้การ
ส่งต่อผู้ป่วยที่ยุ่งยากมากขึ้น เกิดความขัดแย้งระหว่างโรงพยาบาลที่รับผู้ป่วย และโรงพยาบาลที่ส่งต่อ วันที่ 1
ตุลาคม 2564 ศูนย์ประสานงานส่งต่อโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จึงได้ปรับโครงสร้างการบริหารภายใน
โรงพยาบาลใหม่ โดยรวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรับส่งต่อผู้ป่วยทั้ง 3 หน่วยงานเป็นหน่วยเดียว ภายใต้ชื่อ
ศูนย์ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ และร่วมกับเครือข่ายในการพฒนามาตรฐานการรับส่ง
ั
ื้
ต่อผู้ป่วย การพฒนาศักยภาพของบุคลากร และร่วมพฒนาโปรแกรม Smart refer ให้เออต่อผู้ใช้งานมากที่สุด
ั
ั
ั
มีการก าหนดงบประมาณในการพฒนาระบบอย่างชัดเจน และพฒนาให้ครอบคลุมทั้ง 4 กระบวนการ
ั
คือ กระบวนการรับแจ้งและประสานงาน กระบวนการตรวจสอบข้อมูล กระบวนการประเมินผู้ป่วย
และกระบวนการรับส่งต่อผู้ป่วย ซึ่งทั้งหมดต้องด าเนินการโดยศูนย์ประสานงานส่งต่อ
จากการรวมหน่วยงาน เป็นศูนย์เดียวด าเนินงานมาเป็นเวลา 1 ปี 6 เดือน จึงควรมีการประเมินผล
การด าเนินงานของศูนย์ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ภายหลังการด าเนินงานตามแผน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 120