Page 120 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 120
วิธีกำรศึกษำ
ั
ั
การพฒนารูปแบบการส่งต่อ ด าเนินการพฒนารูปแบบการส่งต่อและแนวปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้วงจร
PAOR 5 ได้แก่ ขั้นวางแผน (Plan) ประชุมคณะกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด Standard order
การปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญผ่านทางแอปพลิเคชั่น line ACS (ตลอด 24 ชั่วโมง) แนวทางการส่งต่อข้อมูลศูนย์
ส่งต่อระบบ STEMI fast track ระบบการเบิกจ่ายยาระหว่างโรงพยาบาลมุกดาหารและโรงพยาบาลชุมชน
กรณีผู้ป่วยได้ยาละลายลิ่มเลือดจากโรงพยาบาลชุมชนสามารถส่งต่อข้อมูลพร้อมส่งตัวผู้ป่วยนอนรักษาที่หอ
ผู้ป่วย CCU พร้อมน าแนวทางสู่โรงพยาบาลชุมชนเครือข่ายจังหวัดมุกดาหาร และติดตามนิเทศทุก 3 เดือน
ขั้นปฏิบัติตามแผน (Act) รวบรวมข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย ขั้นสังเกตผล (Observe) ผู้ป่วยที่ส่งต่อ
จากโรงพยาบาลชุมชนมีอาการเปลี่ยนแปลงขณะน าส่งให้ประเมินผู้ป่วยก่อนน าส่งที่หอผู้ป่วย CCU โรงพยาบาล
มุกดาหาร และขั้นสะท้อนผล (Reflect) เยี่ยมเสริมพลังและคืนข้อมูลให้โรงพยาบาลชุมชน
ผลกำรศึกษำ
ในปี 2565 พบผู้ป่วย STEMI ที่เข้ารับการรักษาในจังหวัดมุกดาหาร จ านวน 55 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ส่งต่อ
จากโรงพยาบาลชุมชนมารับการักษาที่โรงพยาบาลมุกดาหาร จ านวน 22 ราย แล้วผู้ป่วย STEMI ที่ได้ส่งต่อ
ไปยังโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์แม่ข่ายเพอเปิดหลอดเลือดหัวใจ (CAG) มีจ านวน 20 ราย (ร้อยละ 90.91)
ื่
เสียชีวิต 2 ราย (ร้อยละ 9.09) ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สถานการณ์ค้นหาปัญหา จากการวิเคราะห์ปัญหา
โดยได้ข้อมูลจากพยาบาลที่ส่งต่อผู้ป่วย STEMI และศูนย์ประสานการส่งต่อโรงพยาบาลมุกดาหาร พบว่า
้
พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยขณะส่งต่อยังมีความไม่มั่นใจในการแปลผลคลื่นไฟฟาหัวใจและสมรรถนะในการดูแล
ผู้ป่วย STEMI ในระยะวิกฤต ส่งผลให้การดูแลผู้ป่วยไม่มีประสิทธิภาพและขาดความต่อเนื่องในการดูแลปรึกษา
ผู้เชี่ยวชาญล่าช้าเนื่องจากติดต่อแพทย์ไม่ได้ รายงานข้อมูลไม่ชัดเจนต้องประเมินผู้ป่วยซ้ า และพยาบาลที่ดูแล
ุ
ไม่ทราบต าแหน่งของอปกรณ์ที่อยู่บนรถ Refer และความถนัดในการใช้อปกรณ์บนรถ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิด
ุ
ั
ภาวะแทรกซ้อนและอาจเสียชีวิต ระยะที่ 2 พฒนาแนวทางการพยาบาลการส่งต่อผู้ป่วย จากการใช้วงจร
PAOR พบว่า มีการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญและต้องประสานข้อมูลที่ซ้ าซ้อนทั้งศูนย์ประสานส่งต่อและหอผู้ป่วย
CCU ที่ซ้ าซ้อนท าให้เกิดความล่าช้าในการส่งต่อผู้ป่วย และขาดความติดต่อประสานอาการผู้ป่วยต่อเนื่องโดย
ั
ขาดแนวทางการดูแลผู้ป่วยกลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โดยมีการปรับปรุงพฒนารูปแบบการดูแลพยาบาล
และการส่งต่อผู้ป่วยโดยจัดท าแนวทางในการปฏิบัติจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งผู้ป่วยที่มีปัญหาที่ซับซ้อน
ควรมีแพทย์เจ้าของไข้ดูแลขณะส่งต่อ และจัดท ามาตรฐานความปลอดภัยของรถ จัดท าคู่มือการใช้รถ
และอุปกรณ์ที่มีบนรถตามมาตรฐานที่ก าหนด ระยะที่ 3 การประเมินผล ผลการศึกษา พบว่า อัตราการเสียชีวิต
ึ
ของผู้ป่วย STEMI ขณะน าส่ง ร้อยละ 0 การเกิดเหตุไม่พงประสงค์ ร้อยละ 0.66 ผลการใช้แนวทางการปฏิบัติ
ขณะน าส่ง พบว่า พยาบาลขณะส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาลมุกดาหาร มีความพร้อมก่อนส่งต่อ ร้อยละ 100
ประกอบด้วยการเตรียมอุปกรณ์การใช้งานบนรถและเอกสาร การดูแลขณะส่งต่อ ร้อยละ 95 ซึ่งมีการประเมิน
อาการผู้ป่วยทุก 5 - 10 นาที และการขอค าปรึกษาเมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงทันทีได้ และเมื่อถึง
โรงพยาบาลปลายทางมีการส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ร้อยละ 100 ทั้งข้อมูลของผู้ป่วยแผนการรักษา และอาการ
ที่เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยตามแบบฟอร์มที่ก าหนด
อภิปรำยผล
เมื่อผู้ป่วยมีการเข้าถึงรับบริการที่รวดเร็วท าให้ผู้ป่วยเข้าถึงมีแนวโน้มเพมมากขน แต่พบว่ามีการเข้าถึง
ิ่
ึ้
ั
ด้วยระบบ EMS น้อยกว่าร้อยละ 20 ซึ่งการเข้าถึงด้วยระบบ EMS สามารถช่วยลดอตราตายที่ผู้ป่วยก่อน
ถึงสถานพยาบาลได้และสามารถช่วยให้ได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดด าเร็วขึ้น ดังนั้นการ
ั
ประชาสัมพนธ์ STEMI Alert, Awareness และการใช้บริการ EMS จะท าให้ผู้ป่วยใช้บริการด้วยระบบ EMS
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 116