Page 122 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 122
กำรพัฒนำระบบกำรพยำบำลส่งต่อผู้ป่วยของศูนย์ประสำนงำนส่งต่อ
โรงพยำบำลสมเด็จพระยุพรำชเดชอุดม
นางสาวแววมณี ทุมวงค์, นางสาวกันต์ชนก ขยันการ
และนางสาวชัดชณีย์ บุญเถิง
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม เขตสุขภาพที่ 10
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม เป็นโรงพยาบาลระดับ S ขนาด 350 เตียง ซึ่งเป็นโรงพยาบาล
แม่ข่ายโซน 4 ที่รับส่งต่อผู้ป่วยตามระบบจากโรงพยาบาลลูกข่ายจ านวน 5 โรงพยาบาล โดยผู้ป่วยที่รับส่งต่อ
ในปี 2565 (6 เดือนแรก) มีจ านวน 272, 250, 247, 240, 193 และ 273 รายตามล าดับ ซึ่งจากการทบทวน
การส่งต่อในปี 2565 พบว่า การประเมินผู้ป่วยจากโรงพยาบาลลูกข่ายยังไม่ครบถ้วนตามแนวทางการพยาบาล
ผู้ป่วย ร้อยละ 5 - 10 ในแต่ละเดือน นอกจากนี้บางรายมีอาการทรุดลงระหว่างการน าส่ง ซึ่งผู้ป่วยที่มีอาการ
เปลี่ยนแปลงหรือทรุดลงระหว่างน าส่งเดือนละ 3 - 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.48
ั
ั
วตถุประสงค์กำรศึกษำ เพอพฒนาและศึกษาผลลัพธ์ของการพฒนาระบบการพยาบาลส่งต่อผู้ป่วยของศูนย์
ั
ื่
ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
วิธีกำรศึกษำ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยใช้กระบวนการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยที่เป็น
ั
มาตรฐานเดียวกัน (Standard Operation Procedure, 2564) มาเป็นกรอบแนวคิดในการพฒนา แบ่งเป็น
ั
3 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ สภาพปัญหาการด าเนินงานระบบส่งต่อผู้ป่วย ระยะที่ 2 พฒนาระบบส่ง
ต่อผู้ป่วย ระยะที่ 3 ประเมินระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ระยะเวลาด าเนินการ เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2565
กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจากโรงพยาบาลลูกข่าย 5 แห่ง จ านวน 50 ราย ใช้วิธีการสุ่มอย่าง
ง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบฟอร์มรับส่งต่อและประเมินผู้ป่วย 2) คู่มือแนวทางมาตรฐาน
การน าส่งผู้ป่วยจากโรงพยาบาลลูกข่าย 3) แบบประเมินระบบการส่งต่อผู้ป่วยของศูนย์ประสานโรงพยาบาล
ุ
สมเด็จพระยุพราชเดชอดม 4) แบบวัดความรู้การส่งต่อผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบเนื้อหา
โดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน หาดัชนีความตรงของเนื้อหา มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.67 ถึง 1.0
ผลกำรศึกษำ
ผลการวิจัย ด้านผู้ป่วย พบว่า 1) การประเมินการน าส่งที่ไม่เหมาะสม ในช่วงที่มีการพฒนาและปรับ
ั
ระบบเก็บข้อมูล คือช่วงเดือน มิถุนายน 2565 – สิงหาคม 2565 ในเดือนมิถุนายน ยอดการประเมินการน าส่ง
ที่ไม่เหมาะสม (IA) น้อยที่สุด คือ ร้อยละ 2.06 การประเมินการน าส่งที่ไม่เหมาะสม (IA) ในเดือนที่มากที่สุด
คือ เดือนกุมภาพนธ์ คือ ร้อยละ 6.27 ยังมีผลการประเมินการน าส่งที่ไม่เหมาะสม ซึ่งด้านที่มากที่สุดที่ยังไม่
ั
ั
เหมาะสมคือ การเปิดทางเดินหายใจ การช่วยหายใจ และการให้สารน้ า ซึ่งอยู่ในช่วงพฒนาปรับปรุงศูนย์
ประสานงานส่งต่อ จะเห็นได้ว่า จ านวน IA มีแนวโน้มลดลง เป็นแนวทางในการน ามาวิเคราะห์เพอปรับปรุง
ื่
ระบบพฒนาระบบการรับประสานงานส่งต่อผู้ป่วยต่อไป 2) การทรุดลงระหว่างน าส่ง พบว่าผู้ป่วยทรุดลง
ั
ระหว่างน าส่งจ านวน 12 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.5 มีแนวโน้มลดลง 3) มาตรฐานการน าส่งของโรงพยาบาลลูก
ข่าย การเตรียมผู้ป่วยก่อนส่งต่อเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพและรายโรค ไม่ท า/หรือท าไม่เหมาะสมคิดเป็น
ร้อยละ 2% และให้การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินตามมาตรฐานวิชาชาชีพและรายโรคไม่ท า/หรือท าไม่เหมาะสมคิดเป็น
ั
ั
ร้อยล่ะ 2% ถือเป็นโอกาสพฒนาต่อไป ในการพฒนาระบบส่งต่อ ส่วนที่ 2 เป็นการประเมินระดับความคิดเห็น
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 118