Page 133 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 133
ระบบกำรน ำเสนอข้อมูลสถิติกำรรับบริกำรแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยำบำลรำมัน
โดยใช้ google data studio
นุรอามานี แยการีซง และคณะ
โรงพยาบาลรามัน จังหวัดยะลา เขตสุขภาพที่ 12
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
ั
โรงพยาบาลรามันเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียง แผนกอบัติเหตุและฉุกเฉินให้บริการผู้ป่วยทั่วไป
ุ
ุ
ุ
ผู้ป่วยประสบอบัติเหตุทั่วไป อบัติเหตุจราจรผู้ป่วยมาตามนัดฉีดยาท าแผลและผู้ป่วยฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง
ในแต่ละปีให้บริการเฉลี่ย 15,000 รายต่อปี เฉลี่ย 1,000 รายต่อเดือน และเฉลี่ย 35 รายต่อวัน ซึ่งจะเห็น
ได้ว่ามีผู้รับบริการจ านวนมาก แต่ระบบการบริหารจัดการข้อมูลผู้ป่วยยังมีการใช้ระบบ manual มีการบันทึก
ลงทะเบียนการรับบริการของผู้ป่วย รายการหัตถการ รวมถึงรายละเอียดต่างๆลงในสมุดทะเบียน ซึ่งการบันทึก
ข้อมูลนอกจากเปลืองกระดาษ การประมูลข้อมูลไม่มีความเที่ยงตรง เพราะต้องมีการนับรวมประมวลผล
ี
ด้วยตัวเองอกทั้งยังใช้เวลานานในการประมวลข้อมูลนับสัปดาห์ยิ่งข้อมูลมากยิ่งใช้เวลามาก ซึ่งที่ผ่านมากรณี
จะท ารายงานประจ าปีหรือรายงานตัวชี้วัดน าเสนอผู้บริหารสามารถท าได้ล่าช้าใช้เวลาเฉลี่ย 1สัปดาห์ - 1 เดือน
แล้วแต่ปริมาณข้อมูลแต่ละครั้ง อีกทั้งเมื่อมีหัวหน้างานหรือผู้บริหารระดับต่างๆต้องการทราบข้อมูลหรือต้องใช้
ข้อมูลในการน าเสนอข้อมูลไม่มีความพร้อม ต้องมาประมวลข้อมูลและต้องท าเอกสารน าเสนอข้อมูลใหม่อยู่
เสมอ ทีมงานจึงคิดวิธีการพัฒนาระบบการน าเสนอข้อมูลสถิติการรับบริการแผนกอบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาล
ุ
รามันเพอให้ข้อมูลสถิติการรับบริการขอผู้ป่วยโรงพยาบาลรามันมีความเที่ยงตรง พร้อมใช้สามารถวิเคราะห์
ื่
แก้ไขปัญหาสุขภาพส าคัญ อีกทั้งยังตอบสนองนโยบาย Paperless ได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
1. ยกเลิกการใช้เอกสารการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยภายในแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉินภายในระยะเวลา 6 เดือน
2. เจ้าหน้าที่สามารถประมวลข้อมูลท ารายงานประจ าเดือนภายใน 1 ชั่วโมง
3. เจ้าหน้าที่สามารถใช้ข้อมูล Dashboard จาก google data studio ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ
วิธีกำรศึกษำ
1. ประชุมคณะท างานระบบสารสนเทศภายในหน่วยงาน
้
2. วางแผนระบบการจัดการขอมูลและออกแบบการป้อนข้อมูลและดึงรายงานร่วมกับแผนก IT
ผู้รับผิดชอบโปรแกรมระบบ Hosxp
3. อบรมการให้รหัสโรคแก่แพทย์และพยาบาล การใช้โปรแกรม HosXP ในการบันทึกขอมูลผู้ป่วย
้
้
โดยแพทย์/พยาบาล โดยมีการบันทึกขอมูลรายวัน
4. ยกเลิกระบบการเก็บข้อมูลด้วยสมุดทะเบียน
5. Key ข้อมูลประวัติ หัตถการ ตรวจร่างกาย การวินิจฉัยในโปรแกรม HosxP
6. ตรวจสอบการลงข้อมูลผู้ป่วยทุกวันทุกเวรโดยหัวหน้าเวร ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล
โดยอนุกรรมการ IM ทุกสัปดาห์ และออกแบบรายงานการตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคตรวจสอบคุณภาพ
การให้รหัสโรคโดยเจ้าหน้าที่งานเวชสารสนเทศโดยมีการตรวจสอบและ feed back เดือนละ 1 ครั้ง
7. ใช้ข้อมูลจากระบบระบบ End user report ในการสร้างรายงานและส่งออกรายงานจาก
Datacenter โดยออกแบบระบบการตรวจสอบการลงข้อมูลและการดึงรายงาน อนุกรรมการ IM ประมวลผล
ข้อมูลการรับบริการข้อมูลผู้ป่วยและส่งรายงานสถิติการรับบริการรวมถึงตัวชี้วัดทุกสิ้นเดือน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 129