Page 130 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 130

ผลกำรศึกษำ


                   Tele-           พ.ค.65          มิ.ย.65         ก.ค.65         ส.ค.65          ก.ย.65

                   Monitoring  จ ำนวน  ร้อยละ  จ ำนวน  ร้อยละ  จ ำนวน  ร้อยละ  จ ำนวน  ร้อยละ  จ ำนวน  ร้อยละ
                   Unstable      33     66.0     49     74.2    43      81.1    50     82.0     48     82.7

                                (50)            (66)            (53)            (61)            (58)
                   Stable        87     78.4    105     82.0    95      83.3    99     82.5     92     92.0
                   high risk    (111)          (128)           (114)           (120)           (100)


                  อภิปรำยผล
                         จากตารางเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดภูเก็ต จ านวน 3 แห่ง ในช่วงเดือน

                  พฤษภาคม 2565 - กันยายน 2565 โดยเก็บข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลแบบบันทึกการประสานรับส่งต่อผู้ป่วย

                  จังหวัดภูเก็ต ผู้ป่วยที่อยู่ในระดับ Unstable จ านวน 288 ราย ได้รับผ่านระบบการอานวยการตรง
                  ทางการแพทย์ (Online medical direction) และใช้ระบบเครื่องติดตามสัญญาณชีพ (Tele-monitoring)
                  จ านวน 223 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.4 ผู้ป่วยที่อยู่ในระดับ Stable with high risk of deterioration จ านวน
                  573 ราย ได้รับผ่านระบบการอ านวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) และใช้ระบบเครื่อง

                  ติดตามสัญญาณชีพ (Tele-monitoring) จ านวน 478 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.4 และมีผู้ป่วยที่ไม่ได้ใช้เครื่อง
                  Tele-monitoringภูเก็ต ระดับ Unstable ร้อยละ 22.5 ระดับ Stable with high risk of deterioration
                                                 ี
                  ร้อยละ 16.6 เนื่องจากเครื่องมือไม่เพยงพอกับจ านวนผู้ป่วยวิกฤติและเกิดอบัติการณ์ไม่พงประสงค์ขณะน าส่ง
                                                                                            ึ
                                                                                ุ
                  อาการผู้ป่วยทรุดแย่ลงแล้วไม่ได้รับการแก้ไข หรือไม่สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยขณะน าส่งได้
                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                         การจัดบริการส่งต่อผู้ป่วยเพอให้เกิดความปลอดภัยมีหลายปัจจัย แต่สถานการณ์ปัจจุบันพยาบาล
                                                 ื่
                  ที่ปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนต่าง ๆ ในจังหวัดภูเก็ต มีอายุงานน้อย ประสบการณ์ในการ

                  ท างานและดูแลผู้ป่วยวิกฤติยังน้อย ทักษะการดูแลผู้ป่วยวิกฤติยังต้องการค าแนะน าใกล้ชิด จึงได้พฒนา
                                                                                                        ั
                  เพมศักยภาพโดยการใช้ระบบ Tele-monitoring กับการเฝ้าติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดจากระบบการ
                    ิ่

                                                                                             ั
                  อานวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) น าเทคโนโลยียุค 5G มาใช้พฒนาในระบบส่งต่อ
                  เพื่อให้พยาบาลที่ปฏิบัติการส่งต่อสามารถช่วยเหลือภาวะคุกคามต่อชีวิต ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตช่วยให้ผู้ป่วย
                  และบุคลากรทางการแพทย์สามารถดูแลผู้ป่วยได้แบบ Real-time ไร้ขีดจ ากัดในเรื่องเวลาและสถานที่
                  ประสานงานให้เกิดความเชื่อมโยง รวดเร็ว ราบรื่นไร้รอยต่อ (Lean & Seamless system) ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน
                  ที่อยู่ในระดับ Unstable และ Stable with high risk of deterioration ได้ใช้ระบบการอานวยการตรงทาง

                  การแพทย์ (Online medical direction) และระบบเครื่องติดตามสัญญาณชีพ (Tele-monitoring) คุณภาพ

                  การส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยรายโรค พยาบาลที่ปฏิบัติการ
                  ส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินจากสถานพยาบาลต่าง ๆ มีความพึงพอใจและมั่นใจในการดูแลผู้ป่วย















                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      126
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135