Page 129 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 129
ความเชื่อมโยง รวดเร็ว ราบรื่นไร้รอยต่อ (Lean & Seamless system) มีระบบสัญญาณภาพและเสียงติดตาม
ค่าสัญญาณชีพอาการผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Tele-Monitoring) ท าให้สามารถท าการรักษาระหว่างน าส่งได้
ั
รวมทั้งโรงพยาบาลจะสามารถเตรียมการรักษาอย่างตรงอาการได้อย่างทันท่วงที ช่วยลดอตราการเสียชีวิต
ระหว่างน าส่ง ส่วนบุคลาการทางการแพทย์เองก็เกิดความปลอดภัยระหว่างปฏิบัติงานมากขึ้น
(www.hfocus.org/topics/เกรียงศักดิ์-ปินตาธรรม)
มีปัจจัยที่ท าให้ผู้ป่วยอาการทรุดลงระหว่างส่งต่อ ได้แก่ ความรุนแรงของสภาพการเจ็บป่วย การเตรียม
ุ
ผู้ป่วยก่อนส่งตัว อปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ไม่พร้อม ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะในการดูแลผู้ป่วย
ของพยาบาล พยาบาลศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วย และพยาบาลที่ปฏิบัติการส่งต่อดูแลผู้ป่วยขณะน าส่งจึงต้อง
ี
มีความรู้ มีทักษะในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติฉุกเฉินทุกระบบ แต่เนื่องจากความไม่เพยงพอของบุคลากร
การเปลี่ยนบทบาทและย้ายสถานที่ปฏิบัติงานของพยาบาลท าให้มีผลต่อการบริหารจัดการและระบบบริการ
ุ
ศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วย กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยอบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลวชิระภูเก็ตได้คิด
ั
พฒนาน าระบบการอานวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) และระบบเครื่องติดตาม
สัญญาณชีพ (Tele-monitoring) มาใช้ในกระบวนการรับผู้ป่วย (Refer in) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างแพทย์เวร
อานวยการศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วยกับพยาบาลที่ปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาลในจังหวัดภูเก็ต
ื่
เพอช่วยให้มีการประเมินผู้ป่วยและแก้ไขภาวะฉุกเฉินขณะน าส่งแก่พยาบาลได้อย่างทันท่วงที เพมความมั่นใจ
ิ่
ในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตและพิการได้
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
ื่
ั
1. เพอพฒนาให้มีการใช้เครื่องติดตามสัญญาณชีพ (Tele-monitoring) และการให้ค าปรึกษา
อ านวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) ในระบบรับส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดภูเก็ต
2. เพมศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินของพยาบาลศูนย์ประสานรับส่งต่อ และพยาบาล
ิ่
ที่ปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล โดยการใช้เครื่องติดตามสัญญาณชีพ (Tele-monitoring)
วิธีกำรศึกษำ
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กำรด ำเนินงำน
65 65 65 65 65 65 65 65 65
1) จัดเตรียมเนื้อหา กระบวนการพัฒนา
ั
2) น าเสนอแผนการพฒนา ในวาระประชุม
พัฒนาคุณภาพการส่งต่อระดับจังหวัด
3) ก าหนดให้ใช้ระบบติดตามสัญญาณชีพ
ในผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน
4) นิเทศ ก ากับติดตามการใช้ระบบติดตาม
สัญญาณชีพ
5) เก็บอุบัติการณ์ผู้ป่วยการเสียชีวิตขณะส่งต่อ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 125