Page 128 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 128

Transfer Safety by Tele-Medicine


                                                                                                นางวันดี ศิริโชติ
                                                                            ศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดภูเก็ต
                                                                           โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เขตสุขภาพที่ 11



                  ควำมส ำคัญของปัญหำ

                                                                             ื่
                         การส่งต่อผู้ป่วยเป็นนโยบายของระบบบริการสุขภาพที่จัดขึ้นเพอให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ
                  ผ่านทางสถานบริการสาธารณสุขระดับต่าง ๆ (กระทรวงสาธารณสุข, 2555) การส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน
                  ระหว่างสถานพยาบาลเกิดขึ้นเนื่องจากข้อจ ากัดของทรัพยากรหรือความเชี่ยวชาญ ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินจะถูกส่งตัว
                                                      ื่
                  ไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า เพอการวินิจฉัยและรักษาโรคที่มีความซับซ้อนหรือมีความรุนแรงสูง
                  ซึ่งสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ก าหนดวิธีปฏิบัติเพอให้เกิดการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพไว้มีขั้นตอน ดังนี้
                                                                  ื่
                  1) ขั้นตอนก่อนการส่งต่อ 2) ขั้นตอนการดูแลขณะส่งต่อ และ 3) ขั้นตอนสิ้นสุดการส่งต่อ ซึ่งสอดคล้องกับ

                  มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานส านักการพยาบาล ที่ได้ก าหนดมาตรฐาน
                                       ุ
                  การปฏิบัติการพยาบาลอบัติเหตุและฉุกเฉินด้านการดูแลต่อเนื่องให้มีประสิทธิภาพ (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน
                  แห่งชาติ, 2557)


                            การเจ็บป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะวิกฤติเป็นภาวะที่ผู้ป่วยก าลังประสบภาวะคุกคามต่อชีวิต
                  (Life Threatening) หากไม่ได้รับการช่วยเหลือรักษาอย่างทันท่วงทีแล้ว อาจท าให้เกิดการสูญเสียชีวิต
                                                                                      ิ่
                  หรือเจ็บป่วยรุนแรงขึ้น ในการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะวิกฤตินั้นเป็นการเพมความเสี่ยงที่ผู้ป่วยอาจมี
                                                           ั
                  การเปลี่ยนแปลงหรือเกิดมีภาวะแทรกซ้อนที่อนตรายได้ (Institute of Hospital Quality Certification
                  (Public Organization), 2015) ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้ในระหว่างการส่งต่อผู้ป่วย เช่น ภาวะหัวใจหยุดเต้น
                  เฉียบพลัน หัวใจเต้นผิดจังหวะ การขาดออกซิเจนจากทอช่วยหายใจเลื่อนหลุด หรือความดันโลหิตต่ าจากภาวะ
                                                               ่
                                                                                              ึ้
                  เสียเลือดเพิ่ม หรือการได้รับสารน้ าไม่เพียงพอ จนเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหรือพิการเพิ่มขน การส่งต่อผู้ป่วย
                  ฉุกเฉินที่มีภาวะวิกฤติต้องมีการส่งต่อโดยทีมการส่งต่อที่มีคุณภาพ เพอให้ผู้ป่วยได้รับบริการในสถานพยาบาล
                                                                           ื่
                  ที่มีศักยภาพสูงกว่า โดยมีเป้าหมายคือผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาพยาบาลที่เหมาะสม ปลอดภัย (Institute of
                  Emergency Medicine, 2016) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในการส่งต่อต้องมีความรู้และมีความสามารถ
                  ในการปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินหรือผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติได้อย่างมีคุณภาพในขณะส่งต่อ

                  โดยการปฏิบัติที่ให้ได้คุณภาพ ผู้ป่วยปลอดภัยพนวิกฤติ ต้องให้การดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมและครอบคลุมตาม
                                                         ้
                  แนวทางปฏิบัติจึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง ชัดเจนและทันสมัย (Danudade, C., 2016)

                         ระบบการบริหารจัดการรถพยาบาลแบบรวมศูนย์ (Ambulance Operation Center) ประกอบด้วย
                  3 ส่วน คือ 1) ระบบความปลอดภัย รถพยาบาล (Safety Ambulance) 2) ระบบติดตามสถานะผู้ป่วย

                  (Patient Monitoring) 3) ระบบสื่อสารประสานงาน (Communication) มีระบบการท างานที่สามารถให้
                  แพทย์ฉุกเฉิน สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเจ้าหน้าที่บนรถสามารถปรึกษาอาการกับแพทย์
                  ที่โรงพยาบาลปลายทางผ่านระบบการอ านวยการตรงทางการแพทย์ (Online Medical Direction)

                                                                      ั
                           Tele-Medicine เป็นการน าเทคโนโลยียุค 5G มาใช้พฒนาในระบบส่งต่อช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากร
                  ทางการแพทย์สามารถดูแลผู้ป่วยได้แบบ Real-time ไร้ขีดจ ากัดในเรื่องเวลาและสถานที่ ประสานงานให้เกิด






                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      124
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133