Page 131 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 131

One Province One ER


                                                                                      แพทย์หญิงสศิริ ดิลกธราดล
                                                                               โรงพยาบาลพัทลุง เขตสุขภาพที่ 12


                  ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย

                         เนื่องจากโรงพยาบาลพัทลุง เป็นโรงพยาบาลทั่วไประดับ S มีหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยในเขตอาเภอเมือง
                  ทั้งผู้ป่วยทั่วไปรวมถึงผู้ป่วยหนักและรับผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลชุมชนทั้ง 10 โรงพยาบาล

                                                   ื่
                  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยหนัก เนื่องจากเพอให้เกิดความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ โดยแพทย์
                  เฉพาะทาง การจัดการระบบการรับส่งต่อจึงถือเป็นหัวใจส าคัญในการดูแลผู้ป่วยหนักเหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                  โรคที่ต้องท างานแข่งกับเวลา เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว และเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยที่สุด

                  วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
                                                                                            ุ
                                                                 ั
                         ความปลอดภัยของผู้มารับบริการ จึงมีการพฒนาการดูแลผู้ป่วยในแผนกอบัติเหตุและฉุกเฉิน
                  โรงพยาบาลพัทลุง โดยเริ่มจากการพัฒนาเป็น ER คุณภาพต่อยอดเป็น One province One ER

                  วิธีกำรศึกษำ อธิบายรูปแบบการศึกษา การก าหนดตัวอย่าง และวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง

                  วิธีกำรวิเครำะห์ข้อมูล/สถิติที่ใช้  เป็นการใช้ข้อมูลผู้ป่วยแล้วมาวิเคราะห์ เชิงพรรณนา

                  ผลกำรศึกษำ อธิบายผลการศึกษาที่ส าคัญ สอดคล้องกับวิธีการศึกษาท าให้อตราเสียชีวิตผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
                                                                                  ั
                  ภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข น้อยกว่าร้อยละ12 จังหวัดพทลุง ผ่านเกณฑ์ 3 ปีซ้อน
                                                                                       ั
                  โดยตั้งแต่ปี 2563 - 2565 เป็นร้อยละ 7.68, 8.14, 8.29 จากการวิเคราะห์ ข้อมูลของปี 2565 เมื่อมีการแยก
                  ประเภทผู้ป่วยที่เสียชีวิตเป็น trauma กับ non trauma พบว่า เป็น trauma สูงถึง ร้อยละ 13.38 Non trauma

                  ร้อยละ 7.71

                  อภิปรำยผล
                         มีการเริ่มแรกในผู้ป่วย stroke ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก ตัวโรค เพื่อให้ ผู้ป่วยและญาติ มีคุณภาพ
                  ชีวิตที่ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี 2565 Stroke fast tract ยอดผู้ป่วยที่ได้รับยา rt-PA จ านวน 123 ราย
                       ึ้
                                                     ึ้
                  เพมขนจากปี 2564 จ านวน 35 ราย เพมขนถึง 3 เท่า และปี 2563 จ านวน 35 ราย ท าให้ผู้ป่วยเป็นอัมพฤกษ์
                    ิ่
                                                   ิ่
                  อัมพาตน้อยลง คุณภาพชีวิตดีขึ้น ท าให้สังคมโดยรวมดีขึ้น
                                                         ั
                         การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ (Trauma) พฒนาระบบการส ารองเลือดไว้ใช้ในภาวะเร่งด่วนก่อนเดือน
                  กันยายน 2565 แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลพัทลุง ไม่มีระบบเลือดส ารองให้ จากการทบทวน case
                  death พบว่า ส่วนหนึ่งเป็น case ที่อยู่ใน ภาวะ Hypovolemic shock เช่น Upper GI bleeding, Blunt

                  abdominal injury โดยปัจจุบันมีเลือดส ารองเป็น PRC Gr.O low titer (Uncross) ท าให้การ Resuscitation
                  ท าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในกรณีที่มีความจ าเป็นต้อง Refer ไปสถานพยาบาลที่สูงขึ้นสามารถท าได้เลย
                  เช่น  Refer โรงพยาบาลหาดใหญ่ เพื่อท า EGD ใน case massive GI bleeding

                  สรุปสำระส ำคัญของผลกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ
                         สรุปสำระส ำคัญของผลกำรศึกษำ

                         การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ปัจจุบันศูนย์สั่งการทางการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัด
                  พัทลุงขึ้น กับองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) พัทลุง มีการส่งต่อข้อมูลไปสู่ชุมชน โดยเฉพาะการเข้าถึงระบบ
                                                                                                      ิ่
                  1669 โดยปัจจุบันเป็นนโยบายของ อบจ. ในการเพมหน่วยกู้ชีพ โดยในปีงบประมาณ 2565 มีการเพมหน่วย
                                                             ิ่
                  กู้ชีพ 2 หน่วย ในเขตอ าเภอเมือง




                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      127
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136