Page 134 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 134
ื้
8. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน IM เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการแนะน าพนฐานสร้าง Dashboard
ด้วย google data studio
9. ออกแบบหน้าต่าง dashboard การน าเสนอโดยใช้ google data studio โดยใช้ข้อมูลจาก google sheet
10.ออกแบบ data security เพื่อควบคุมการเข้าถึงข้อมูลโดยก าหนด username password
ื่
11.เปิดการเข้าถึงข้อมูลเพอน าเสนอข้อมูลสถิติการรับบริการให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ที่สามารถ
ใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานต่อไป
ผลกำรศึกษำ
ตัวชี้วัด
ระยะเวลำเฉลี่ยในกำรส่งออกและวิเครำะห์ข้อมูลกำรบริกำรแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน
ก่อนการพัฒนา พัฒนาระยะที่ 1 พัฒนาระยะที่ 2
ชัวโมง
่
140
120 120 120
120
100
80 72
60 48 48 48
40
20
1 1 1
0
ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 ปี 65 ปี 66
ุ
จากแผนภูมิแสดงระยะเวลาเฉลี่ยในการส่งออกและวิเคราะห์ข้อมูลการบริการแผนกอบัติเหตุจะเห็นได้ว่า
การประมวลข้อมูลและส่งรายงานใช้เวลาลดลง สามารถประมวลข้อมูล Dashboard ภายในเวลา 1 ชั่วโมง
จากเดิมใช้เวลาเฉลี่ย 4 - 5 วัน ช่วยให้ส่งข้อมูลและตัวชี้วัดได้ทันเวลา
ตัวชี้วัด เป้ำหมำย ผลกำรด ำเนินงำน (ปีงบประมำณ)
ความพร้อมใช้ของข้อมูลสถิติการรับ ร้อยละ 59 60 61 62 63 64 65
บริการแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน ผ่าน 100 0 0 0 0 0 100 100
โปรแกรม google data studio
ร้อยละควำมพร้อมใช้ของข้อมูล
อภิปรำยผล
ุ
จากการสร้างแนวทางปฏิบัติระบบการน าเสนอข้อมูลสถิติการรับบริการแผนกอบัติเหตุฉุกเฉิน
ั
้
โรงพยาบาลรามัน โดยใช้ google data studio ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ในการบันทึกขอมูลท าให้เกิดการพฒนา
มิติคุณภาพในหลาย ๆ ด้าน
1. ด้านคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 130