Page 17 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 17
ระบบสำรสนเทศรับส่งต่อผู้ป่วยของโรงพยำบำลในเขตสุขภำพที่ 10 (Smart Refer)
นางหรรษา ชื่นชูผล, นายธนสิทธิ์ สนั่นเมือง และคณะ
ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี เขตสุขภาพที่ 10
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
การจัดการบริการสุขภาพในปัจจุบัน มีความจ าเป็นที่ต้องให้ประชาชนได้รับบริการที่ครอบคลุม
เหมาะสมและมีคุณภาพได้มาตรฐาน ทั้งนี้เพอให้ประชาชนที่เจ็บป่วยได้รับการดูแลรักษาและมีการรับส่งต่อ
ื่
ส่งกลับที่ถูกต้องด้วยความปลอดภัย นโยบายสุขภาพของรัฐบาลคือประชาชนทุกคนจะได้รับสิทธิ์ในการเข้ารับ
บริการสุขภาพโดยการสร้างหลักประกันสุขภาพที่มุ่งจัดให้ประชาชนมีสิทธิและเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มี
คุณภาพ ได้มาตรฐาน ผลักดันให้โรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุขต่าง ๆ พฒนาระบบบริการที่มี
ั
คุณภาพและประสิทธิภาพ หากเกินศักยภาพของสถานบริการต้องมีการจัดระบบบริการส่งต่อที่เหมาะสม โดยมี
การประสานงานระหว่างหน่วยงานและเตรียมความพร้อมผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่การดูแลที่ต่อเนื่อง
ปัญหาความไม่พร้อมในระบบบริการสุขภาพในโรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก
อาทิ ปัญหาขาดแคลนแพทย์และพยาบาล การส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลต้นทางที่มากเกินความจ าเป็น ท าให้
ต้องใช้เวลาในการติดต่อประสานงานเพอการรองรับผู้ป่วย ก่อให้เกิดการเสียโอกาสที่ดีในการรับการรักษา
ื่
ข้อมูลการส่งต่อมีความไม่สมบูรณ์ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน อุปกรณ์รถพยาบาลไม่พร้อม ขั้นตอนการส่งต่อ
ผู้ป่วยมีความซับซ้อน มีความล่าช้าความไม่สะดวกในการไปรับบริการ โดยระบบรับส่งต่อผู้ป่วยในโรงพยาบาล
ปัจจุบันมีการด าเนินการใน 2 รูปแบบคือ (1) รูปแบบเดิม แพทย์เขียนใบส่งต่อ (บส.08) โดยการคัดลอกข้อมูล
การส่งต่อลงในเอกสาร ซึ่งใช้เวลาเฉลี่ยรายละ 20-30 นาที และจากข้อมูลพบข้อผิดพลาดในหลาย ๆ ด้าน เช่น
การคัดลอกข้อมูลคลาดเคลื่อน และไม่เป็นปัจจุบัน ท าให้แพทย์โรงพยาบาลปลายทางต้องส่งตรวจซ้ า ท าให้
่
ี
ิ่
เสียเวลา และมีค่าใช้จ่ายเพมขึ้น อกทั้งยังไม่มีระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (2) รูปแบบใหม ที่มี
การรับส่งต่อผู้ป่วยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล โดยปัจจุบันประเทศไทย
มีระบบสารสนเทศการส่งต่อที่มีความหลากหลายตามบริบทของแต่ละพื้นที่
จากการเพมขึ้นของข้อมูลรับส่งต่อผู้ป่วยกระทรวงสาธารณสุขและด้วยความหลากหลายของระบบ
ิ่
สารสนเทศ ท าให้ฐานข้อมูลด้านการรับส่งต่อผู้ป่วยไม่สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างไร้รอยต่อ ส่งผลให้ไม่สามารถ
บริหารจัดการการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีอยู่อย่างจ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยเหตุนี้คณะ
ั
ผู้จัดท า จึงมีแนวคิดที่จะพฒนาระบบสารสนเทศรับส่งต่อผู้ป่วยของโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 (Smart
Refer) ในรูปแบบ Web application มาช่วยในจัดการด้านข้อมูลสารสนเทศ บูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลการ
รับส่งต่อผู้ป่วยของหน่วยบริการให้สามารถประเมิน ติดตามอาการและรับส่งข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ
ื่
การรักษาแทนการใช้ใบส่งตัวแบบกระดาษ เพอให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพด้วย
ั
ข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อมโยงกนและมีความเป็นปัจจุบัน ตลอดจนสามารถน าข้อมูลและสารสนเทศจากการ
ั้
รับส่งต่อผู้ป่วยไปวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ในการวางมาตรการทางด้านสาธารณสุขของเขตสุขภาพที่ 10 อีกทง
ยังสามารถพฒนาต่อยอดเพอใช้งานร่วมกับทุกเขตสุขภาพได้อย่างไร้รอยต่อและมีประสิทธิภาพ เพอให้
ื่
ั
ื่
ประชาชนได้รับการดูแลด้วยระบบรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 13