Page 12 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 12
การรักษาคนไข้วิกฤตเบื้องต้น จ านวน 5 ข้อ การให้คะแนน ถ้าตอบถูกให้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดให้ 0 คะแนน
จากนั้นน าคะแนนมารวมกันและจัดระดับความรู้เรื่องแนวทางการดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
1. แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (Case record form) ประกอบด้วย อายุ เพศ โรคประจ าตัว อาการที่มา
การวินิจฉัยโรค และการรักษาเบื้องต้น
2. แบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ รพสต ส าหรับการประชุมกลุ่ม เกี่ยวกับการอบรมเชิงปฏิบัติการและระบบ
การแพทย์ทางไกล ได้แก่ ความพึงพอใจ ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขพัฒนา และค าแนะน าอื่น ๆ
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1. สุ่มลงส ารวจความต้องการ ปัญหาและความพร้อมของ รพ.สต. ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
ั
2. จัดท าแนวทางการดูแลผู้ป่วย 8 โรคส าคัญ (Offline protocol) ตามแผนพฒนาระบบสุขภาพโดย
อ้างอิงแนวปฏิบัติส าหรับหน่วยปฏิบัติการประเภทปฏิบัติการแพทย์ระดับสูงจังหวัดปราจีนบุรี
- 3S (Sepsis, Stroke, STEMI). - 1T (Trauma: Head injury)
- 2H (Hypo-Hyperglycemia) - 2A (Anaphylaxis, cardiac Arrest)
3. สร้างแบบฟอร์มสื่อสารระหว่างรพ.สต. และ รพ.พนัสนิคม ที่สะดวกใช้ในกรณีส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน
4. ประสานงานบริษัทมายด์ เมดิคอล แคร์ จ ากัด ร่วมสร้างระบบ ER Phanat Teleconsult
5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นและแนวทางการดูแลผู้ป่วย 8 โรค
ส าคัญ แก่ เจ้าหน้าที่ทั้ง 21 รพ.สต. ร่วมกับชี้แจงท าความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ
- ให้ความรู้และท าความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้น 8 โรค
ู
ส าคัญผ่านการพดบรรยายและกิจกรรมจ าลองสถานการณ์สมมติให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต. มีส่วนร่วมได้ประเมิน
อาการผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินและให้การรักษาเบื้องต้น
- แนะน าการใช้แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน (Case record form)
- แนะน าการจัดวางเครื่องมือ และเวชภัณฑ์ในบริเวณฉุกเฉินของ รพ.สต. ให้พร้อมใช้งาน
- แนะน าระบบ ER Phanat Teleconsult
6. ท าการประเมินความรู้ก่อนและหลังจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยแบบสอบถามประเมินความรู้ในการ
ดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นคนไข้วิกฤตเบื้องต้น
7. ลงเยี่ยม รพ.สต. ในอาเภอพนัสนิคม ทั้งหมด 21 แห่ง เพอประเมินการใช้ระบบการแพทย์ทางไกล
ื่
ุ
ส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ส ารวจความพร้อมใช้ของอปกรณ์กู้ชีพ ทดสอบความรู้ความเข้าใจแนว
ทางการดูแลผู้ป่วย 8 โรคส าคัญ ผ่านสถานการณ์จ าลองภายใต้ข้อจ ากัดในสถานที่จริง และ CPR audit
8. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ส าหรับการประชุมกลุ่ม เกี่ยวกับการอบรมเชิงปฏิบัติการและระบบ
การแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน หลังจากทดลองใช้ระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการ
ดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินใน รพ.สต. 21 แห่ง
9. ตรวจสอบ จัดการข้อมูลและวิเคราะห์ผลการทดลอง
วิเครำะห์ข้อมูล
1. การใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย จ านวน ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) วัดผลลัพธ์ ค่าคะแนนประเมินความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วย
วิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นโดยทดสอบก่อนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ รพ.สต. การเปลี่ยนแปลงของ
สัญญาณชีพ (MEWS score ในผู้ใหญ่ และ PEWS score ในเด็กอายุ 1 - 15 ปี) หลังได้รับการดูแลภาวะฉุกเฉิน
โดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต. จ านวนการรอดชีวิตที่ 24 ชั่วโมง และระยะเวลาในห้องฉุกเฉิน (ED length of stay)
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 8