Page 18 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 18

วัตถุประสงค์กำรศึกษำ

                         1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศรับส่งต่อผู้ป่วยของโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 (Smart Refer)

                         2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสารสนเทศรับส่งต่อผู้ป่วย (Smart Refer)

                  วิธีกำรศึกษำ

                         ประชากรที่ใช้ในการทดสอบระบบมีจ านวน 84 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ไอที ผู้รับผิดชอบงานการ
                  รับส่งต่อผู้ป่วย เช่น แพทย์ พยาบาลผู้รับผิดชอบงานส่งต่อ และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศ โดยท าการ

                  ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบ

                         กรอบแนวควำมคิดและกำรพัฒนำระบบ

                                                    ั
                                                                                                  ื่
                         การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพฒนา ผู้วิจัยได้ก าหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบเพอการจัดการ

                  งานวิจัยภายใต้หลักทฤษฏี (System Development Life Cycle : SDLC) และพัฒนาระบบตามความต้องการ
                  จากผู้ใช้งานระบบจริงจากกระบวนการปฏิบัติงานที่หน่วยบริการให้บริการ ดังนี้

                         1) ขั้นตอนการก าหนดความต้องการ (Requirement Definition) และการวิเคราะห์ระบบ (System
                  Analysis) ปัจจุบันการข้อมูลทางด้านสาธารณสุขมีความจ าเป็นในการวางแผนการรักษาอย่างต่อเนื่องของ
                  สถานพยาบาลโดยเฉพาะผู้ป่วยฉุกเฉิน หน่วยบริการบางแห่งยังมีการใช้เอกสารการรับส่งต่อผู้ป่วยแบบเป็น

                                                                                    ้
                  กระดาษส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยลดลงจากความล่าช้า รวมไปถึงขอมูลไม่เป็นปัจจุบัน ดังนั้นการ
                  พัฒนาระบบสารสนเทศรับส่งต่อผู้ป่วยในรูปแบบ Web application จะช่วยในการเชื่อมโยงข้อมูลการรับส่งต่อ
                  ผู้ป่วยของหน่วยบริการแทนการใช้ใบส่งตัวแบบกระดาษ เพอให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
                                                                         ื่
                  มีประสิทธิภาพและเป็นปัจจุบัน ตลอดจนสามารถน าข้อมูลและสารสนเทศจากการรับส่งต่อผู้ป่วยไปวิเคราะห์
                  และใช้ประโยชน์ในการวางมาตรการทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ
                         2) ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และออกแบบระบบตามกระบวนการท างานจริง
                  โดยมีแนวคิดการท างานในภาพรวมของระบบ ดังภาพที่ 1


















                                          ภำพที่ 1 แนวคิดการท างานในภาพรวมของระบบ

                                          ั
                                                                                      ั
                         3) ขั้นตอนในการพฒนา (Development) ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการพฒนาระบบด้วยภาษาโหนด
                  เจเอส โดยใช้ฟาสติฟาย เป็นเฟรมเวิร์ค มาช่วยในการจัดวางองค์ประกอบของหน้าจอ และใช้แองกิวลา ในการ
                                                              ิ่
                   ั
                  พฒนาฟรอนท์ เอน ร่วมกับ ไทพสคริพท ที่มาช่วยเพมความสามารถ ฐานข้อมูลเป็นมายเอสคิวแอล ผู้วิจัยได้
                                 ็
                  แบ่งการพฒนาระบบออกเป็น 6 ส่วนหลัก ๆ คือ การเข้าใช้งาน กระบวนการส่งต่อผู้ป่วย กระบวนการส่งต่อ
                          ั
                                                                                                        ั
                  ผู้ป่วย กระบวนการรับการส่งต่อผู้ป่วย กระบวนการรับส่งกลับผู้ป่วย และระบบรายงานการส่งต่อ โดยพฒนา
                  ระบบในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชัน (Web application)





                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       14
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23