Page 15 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 15
ตำรำงที่ 3 ประเมินประสิทธิผลระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินสีแดง
ER Phanat Teleconsult
ู
ข้อมลกำรประเมิน
ก่อนใช้ (9 รำย) หลังใช้ (22 รำย)
ค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ 0 (SD= 1.05) 1.89 (SD= 0.94)
(MEWS or PEWS score)
ค่าเฉลี่ยก่อนได้รับการดูแลเบื้องต้น 5 4.8
ค่าเฉลี่ยหลังได้รับการดูแลเบื้องต้น 5 3
จ านวนการรอดชีวิตที่ 24 ชั่วโมง 7 ราย 22 ราย
ระยะเวลาเฉลี่ยในห้องฉุกเฉิน 105 นาที 120 นาที
(ED length of stay) (SD = 42) (SD = 78)
ระยะที่ 3
ิ
1. ควำมคิดเห็นต่อกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร เรื่อง กำรช่วยเหลือผู้ป่วยเจ็บป่วยวกฤติฉุกเฉิน
ึ
พงพอใจกับการประชุมเชิงปฏิบัติการเป็นอบรมที่น่าสนใจ ได้ประโยชน์จากการปฏิบัติจริง มีตัวอย่างเคสให้ท า
จริงและชื่นชมระบบ Telemedicine เป็นประโยชน์และเพิ่มความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ุ
2. จุดออน ปัญหำ อปสรรคและข้อเสนอแนะที่ต้องกำรให้โรงพยำบำลพนัสนิคม ช่วยเหลือ
่
ุ
สนับสนุน อปกรณ์ที่ไม่ค่อยได้ใช้เสื่อมอายุตามระยะเวลาที่จัดซื้อมา เช่น Bag Valve Mask และอปกรณ์
ุ
บางอย่างมีชิ้นเดียว เช่น สายออกซิเจน เสนอแนะ ให้สามารถแลกของที่อบแก๊สแล้วได้ทันทีเมื่อส่งคนไข้แล้วได้
รวมทั้งมีข้อจ ากัดในการซื้อเครื่องมือ เช่น กรรไกรตัดไหม ต้องใช้ปลายเข็มหรือใบมีดแทน
3. โอกำส ข้อเสนอแนะในการอบรมที่ต้องการเพมเติมคือ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ถูกสัตว์มีพษ
ิ่
ิ
กัด ต่อย และต้องการให้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติแก่ หัวหน้า รพสต. พยาบาล เจ้าพนักงานสาธารณสุข และ
นักวิชาการสาธารณสุข ต่อเนื่องโดยมีการฟื้นฟูทุก 1 ปี
อภิปรำยผล
จากการศึกษา พบว่า การอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นมีประสิทธิภาพ
โดยพบว่าเจ้าหน้าที่ รพ.สต. มีคะแนนเฉลี่ยหลังอบรมมากขึ้นกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
(p< 0.001) เนื่องจากเป็นการอบรมที่เน้นผู้อบรมมีส่วนรวม และได้ทดลองฝึกปฏิบัติจริง
หลังจากเริ่มระบบ ER Phanat Teleconsult พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการประสานส่งต่อจาก รพ.สต.
มีค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ (MEWS หรือ PEWS score) ที่ดีขึ้นถึง 1.89 คะแนน (SD = 0.94)
หลังได้รับการดูแลเบื้องต้นจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ภายใต้การให้ค าปรึกษาโดยแพทย์ ซึ่งสอดคล้องกับ
ผลงานวิจัยของ Westbrook JI, Coiera EW, Brear M, Stapleton S, et al. แสดงถึงประสิทธิผลของระบบ
ER Phanat Teleconsult โดยเมื่อเทียบกับจ านวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินช่วงก่อนมีระบบ จ านวน 10 ราย โดยมี
ค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพในผู้ป่วยสีแดงอยู่ที่ 0 คะแนน (SD = 1.05) หมายถึงผู้ป่วยไม่ได้รับหรือ
ได้รับการดูแลเบื้องต้นไม่เหมาะสม ในจ านวนนี้ มี 1 รายเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นที่ไม่ได้รับการกู้ชีพและ
การเรียกใช้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสม โดยหลังจากเริ่มระบบ ER Phanat Teleconsult พบมีการ
ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินมากยิ่งขึ้น โดยไม่พบการเสียชีวิตที่ 24 ชั่วโมงในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
จาก รพ.สต. แต่ยังพบผู้ป่วยสีแดงจ านวน 3 ราย ไม่ได้รับการปฏิบัติตามแนวทาง ไม่ได้ประสาน Telemedicine
ด้วยเหตุเป็นวันหยุดราชการเจ้าหน้าที่น้อย 1 ราย และเป็นรพ.สต.ในระยะ 5 กิโลเมตร 2 ราย จึงให้ผู้ป่วยเดินทาง
มารพ.เองทั้ง 3 ราย
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 11