Page 13 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 13
ื่
2. การใช้สถิติเชิงอนุมานสถิต Paired sample test เพอเปรียบเทียบความรู้ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
เบื้องต้นก่อนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ผลกำรศึกษำ
การศึกษาผลการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นในเจ้าหน้าที่รพ.สต.
46 คน โดยเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังอบรม พบว่าเจ้าหน้าที่ รพ.สต. มีคะแนนเฉลี่ยหลังอบรมมาก
ขึ้นกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p< 0.001) ตามตารางที่ 2
หลังจากเริ่มระบบ ER Phanat Teleconsult ตั้งแต่ ตุลาคม 2565 เป็นเวลา 8 เดือนพบว่าห้องฉุกเฉิน
รพ.พนัสนิคมได้รับผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินจาก รพ.สต. ในอาเภอพนัสนิคม ทั้งหมด 36 ราย โดยเป็นผู้ป่วยความ
ฉุกเฉินสีแดง 22 ราย และผู้ป่วยความฉุกเฉินสีเหลือง 14 ราย โดยพบว่าผู้ป่วยฉุกเฉินสีแดงมีค่าเฉลี่ยการ
เปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ (MEWS หรือ PEWS score) ที่ดีขึ้นถึง 1.89 คะแนน (SD = 0.94) เมื่อเทียบกับ
การก่อนเริ่มระบบ 8 เดือน ที่มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพน้อยค่าเฉลี่ย 0 คะแนน(SD = 1.05) และ
พบจ านวนการรอดชีวิตที่ 24 ชั่วโมงมากยิ่งขึ้นหลังเริ่มระบบ แต่ไม่พบการลดลงของ ED length of stay
ดังตารางที่ 3
ระยะที่ 1
ตำรำงที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่ รพสต. ตอบแบบสอบถามประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมเชิง
ปฏิบัติการ จ านวน 46 คน
ข้อมลทั่วไป จ ำนวน ร้อยละ
ู
เพศ
หญิง 37 94
ชาย 9 6
อำยุ (ปี)
20 - 30 23 50
31 - 40 14 30
41 - 50 4 9
51 - 60 5 11
ระยะเวลำปฏิบัติงำน (ปี)
0 - 10 31 67
11 - 20 8 17
21 - 30 4 9
31 - 40 3 7
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 9