Page 16 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 16
ในส่วนของระยะเวลาเฉลี่ยในห้องฉุกเฉิน (ED LOS) พบว่าหลังเริ่มโครงการไม่พบการลดลงของ ED
ั
LOS ในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน เนื่องจากรพ.พนัสนิคมยังประสบปัญหาความแออดในห้องฉุกเฉิน ห้องผู้ป่วยในใช้
ระยะเวลารอเตียงเพื่อรับผู้ป่วยเข้าเป็นผู้ป่วยในค่อนข้างนาน
สรุปและข้อเสนอแนะ
1. จากผลงานวิจัย สามารถน ารูปแบบระบบการแพทย์ฉุกเฉินทางไกลระหว่าง รพ.สต. และ
โรงพยาบาลตติยภูมิไปก าหนดนโยบายและไปขยายผลการด าเนินการในโรงพยาบาลที่มีบริบทคล้ายคลึงกัน
ิ่
ื่
ทั้งในระดับจังหวัด ระดับเขตสุขภาพ และระดับประเทศ เพอเพมคุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ
การแพทย์ฉุกเฉิน ท าให้ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินปลอดภัย และมีอตราการรอดชีวิตสูงขึ้น ร่วมกับการจัดอบรม
ั
เชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้นและชี้แจงแนวทางการดูแลผู้ป่วยรายโรคส าคัญตาม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
2 . ผู้วิจัยพบว่าระบบ ER Phanat Teleconsult มีข้อจ ากัดคือ ใช้ได้กับ smartphone ที่เป็น
ั
ระบบปฏิบัติการ android เท่านั้น ต้องได้รับการพฒนาซอฟท์แวร์ต่อไป และการจัดหาเครื่องติดตามสัญญาณ
้
ชีพที่สามารถตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจได้และส่งภาพปรึกษาผ่านระบบการแพทย์ทางไกลจะเพมความแม่นย า
ิ่
ในการวินิจฉัยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ Chest pain ที่ รพ.สต. ได้
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 12