Page 25 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 25

ที่   วันเดือนปี  เวร   EMS รพ.         วินิจฉัย       กำรรักษำเฉพำะเจำะจง    KPI ส ำคัญ
                   12  21 พ.ค. 66  ดึก  รพ.นครชัยศรี   Large Pontine      End of life care
                                                      hemorrhage
                   13  22 พ.ค. 66  เช้า  รพ.หลวงพ่อ   TIA (transient      Antiplatelet drug

                                         เปิ่น        ischemic attack)
                   14  8 มิ.ย. 66  บ่าย  รพ.นครชัยศรี   Ischemic stroke (Lt.   Thrombectomy     Door to OR
                                                      MCA infarction)                              118 นาท  ี
                  DTN; door to needle = เวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนกระทั่งได้ยาสลายลิ่มเลือด

                  Door to OR = เวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนกระทั่งเข้าห้องผ่าตัด


                  NIHSS (National Institutes of Health Stroke Scale) = คะแนนประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือด
                  สมองเฉียบพลัน

                  อภิปรำยผล

                         กระบวนการส าคัญที่ท าให้การส่งต่อเร่งด่วน (Fast pass refer) แตกต่างจากการส่งต่อทั่วไป

                  2 ประการ คือ 1. การมีกระบวนการ Stroke pre-notification ท าให้โรงพยาบาลปลายทางมีความพร้อม
                  รับผู้ป่วยทันทีแบบไร้รอยต่อ และ 2. ส่งต่อโดยตรงไปยังโรงพยาบาลศูนย์นครปฐม โดยไม่จ าเป็นต้อง

                  เคลื่อนย้ายผู้ป่วยกลับโรงพยาบาลต้นสังกัดและออกใบส่งตัวดังเช่นกรณีปกติทั่วไป ท าให้สามารถลดขั้นตอน
                  และระยะเวลาต่าง ๆ ได้เป็นอย่างมาก


                         กระบวนการ Stroke pre-notification มีการศึกษาก่อนหน้าพบว่าสามารถช่วยลดระยะเวลาการให้
                  ยาสลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ได้มากถึง 11 นาที โดยทีม EMS (Emergency Medical Service)
                  ซึ่งออกดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ (Pre-hospital care) และประเมินว่าผู้ป่วยสงสัยภาวะ Stroke fast track

                  จะท าการแจ้งเตือนล่วงหน้า (Pre-notification) มายังศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ 1669 นครปฐม ซึ่งจะมีการ
                  แจ้งประสานต่อทีมต่าง ๆ ในแผนกฉุกเฉิน โรงพยาบาลนครปฐม ได้แก  ่


                         1. ทีมเวชระเบียน ท าให้สามารถท าบัตรล่วงหน้าก่อนผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล

                         2. ทีมแพทย์ฉุกเฉิน ท าให้สามารถเตรียมความพร้อมในการรับผู้ป่วยฉุกเฉิน เช่น ทีมเปลเตรียมเปล

                                    ื่
                  และชั่งน้ าหนักเปลเพอให้ทราบน้ าหนักผู้ป่วยในการค านวณขนาดยาที่ใช้ เตรียมบุคลากรแพทย์/พยาบาล
                  เพื่อพร้อมรับผู้ป่วย


                         3. ทีมเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง ท าให้เตรียมพร้อมในการท า CT brain ได้ทันที

                         การเตรียมความพร้อมข้างต้น ล้วนส่งผลโดยตรงต่อความพร้อมและความรวดเร็วในการดูแลผู้ป่วย
                  ในกลุ่มโรค Fast track ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Stroke fast track


                         กระบวนการส่งต่อเร่งด่วน (Sast pass refer) โดยการที่ทีม EMS ดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
                  (Pre-hospital care) และประเมินว่าผู้ป่วยสงสัยภาวะ Stroke fast track สามารถส่งต่อ (Refer) ผู้ป่วย

                                                                                   ิ
                  โดยตรงมายังโรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ซึ่งมีศักยภาพในการท าเอกซเรย์คอมพวเตอร์สมอง และให้การรักษา
                  เฉพาะเจาะจง (Definite care) ได้แก่ ให้ยาสลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) หรือ ใช้สายสวน







                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       21
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30