Page 29 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 29
พัฒนำแนวทำงกำรส่งกลับผู้ป่วยให้มีประสิทธิภำพ และปลอดภัย
นายพิษณุ อุไชย
กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาลล าปาง เขตสุขภาพที่ 1
ั
ที่มำของปญหำ/สำเหตุ /บริบท
ั
จากนโยบายการลดความแออด ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกอบไป
ด้วย 3 ยุทธศาสตร์หลัก คือ คือ 1) ลดการเจ็บป่วยของประชาชน 2) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 3) พัฒนา
ั
ศักยภาพสถานบริการ โดยยุทธศาสตร์ที่ 3 นั้นจะเน้นในเรื่องของการพฒนารูปแบบเครือข่าย การรักษาเฉพาะ
ั
ด้านตามแผนพฒนาระบบบริการ (Service Plan) ระบบให้ค าปรึกษา และส่งผู้ป่วยที่พนภาวะวิกฤตกลับไป
้
ั
รักษาที่โรงพยาบาลต้นทาง พฒนาศักยภาพโรงพยาบาลชุมชน (Intermediate Care) และการดูแลผู้ป่วย
ระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) (ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2561) จึงท าให้
ั
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ทั่วประเทศไทยต้องมีแผนพฒนาคุณภาพด้านการส่งกลับผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาล
เครือข่ายมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลล าปางมีนโยบายร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดคือ One province one hospital จึงมี
ั
แผนพฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วย ทั้งก่อนส่งต่อ ระหว่างส่งต่อ หลังส่งต่อ จนกระทั่ง
ั
ื่
รับผู้ป่วยรับกลับ เพอให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาใกล้บ้านใกล้ใจ มีการพฒนาการส่งกลับผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาล
ื่
ทั้งในและนอกจังหวัด เครือข่ายเขตสุขภาพล้านนา 2 เพอให้มีการบริหารจัดการเตียงในโรงพยาบาลล าปาง
ี
มีประสิทธิภาพเพยงพอต่อการรองรับผู้ป่วยซับซ้อน จากความร่วมมือของทีมแพทย์ผู้รักษาของแต่ละ Service
Plan ร่วมกับกับแพทย์ในโรงพยาบาลเครือข่าย โดยเฉพาะแผนกที่มีภาวะผู้ป่วยล้นในล าดับต้น ได้แก่ แผนก
อายุรกรรม ศัลยกรรมและออร์โธปิดิกส์ จากข้อมูลการส่งกลับผู้ป่วย 3 ปีย้อนหลังคือปี 2561 ถึง 2565 พบว่า
มี 2,092, 2,313, 1,961, 1,345 และ 1,402 ราย ตามล าดับ โดยเฉลี่ย 7 - 10 รายต่อวัน จากการด าเนินการที่
ผ่านมาพบปัญหาการส่งกลับผู้ป่วยแบ่งเป็น 5 ประเด็นที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม หรือไม่ปฏิบัติ ได้แก่ 1) การ
รักษา 2) การพยาบาล 3) ส่งต่อข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ 4) วิธีการน าส่ง และ 5) การปฏิบัติตามแนวทาง ทั้งนี้
ศูนย์ส่งต่อมีบทบาทส าคัญในการประสานงานและติดตามการท างาน เพอให้เป็นไปตามที่คาดหวังของการ
ื่
พฒนา ตั้งแต่การจัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง การจัดท าแนวทางการประสานงาน จัดท าแนวทางการดูแลผู้ป่วย
ั
ส่งกลับ และติดตามผลการส่งกลับผู้ป่วยให้มีคุณภาพและปลอดภัย
การส่งกลับผู้ป่วยที่มีคุณภาพ จ าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทั้งแพทย์และพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วย
โรงพยาบาลล าปาง พยาบาลศูนย์ส่งต่อ แพทย์และพยาบาลโรงพยาบาลเครือข่ายที่ต้องรับผู้ป่วยดูแลต่อเนื่อง
ศูนย์ส่งต่อจึงได้มีการพฒนาแนวทางการส่งกลับผู้ป่วยให้มีคุณภาพ ผู้ป่วยมีความปลอดภัย โดยครอบคลุม
ั
กระบวนการส่งกลับ ตั้งแต่ก่อนส่งกลับ ระหว่างส่งกลับ และหลังส่งกลับ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 25