Page 30 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 30
บุคลำกร ระบบ/รูปแบบ
- พยาบาลหอผู้ป่วยและพยาบาลศูนย์ส่งต่อขาด
ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการส่งกลับผู้ป่วย -ไม่มีแนวทางการส่งต่อและแบบบันทึกที่ชัดเจน
ส่งมอบผู้ป่วยโดยวาจา
ผู้ป่วยได้ปฏิบัติตำม
แนวทำงส่งกลับ
-ไม่ทราบข้อมูลของโรคและแผนการรักษาต่อเนื่อง
-ไม่มีแบบฟอร์มการประเมินผู้ป่วยที่ชัดเจน
และมีความปลอดภัย
ผู้รับบริกำร อุปกรณ ์
ื่
วัตถุประสงค์ เพอพัฒนาแนวทางการส่งกลับผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย
ตัวชี้วัด ผู้ป่วยส่งกลับได้รับการปฏิบัติตามแนวทางการส่งกลับและมีความปลอดภัย
ระยะเวลำด ำเนินกำร 1 พฤศจิกายน 61 ถึง เดือน 30 กันยายน 2565
กิจกรรมกำรพัฒนำ
ุ
1. วิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลังเรื่องการส่งกลับของผู้ป่วย (Refer back) จากข้อมูลอบัติการณ์ความเสี่ยง
ที่ได้จากการเก็บข้อมูลของพยาบาลประจ าศูนย์ส่งต่อปี 2561 พบผู้ป่วยส่งกลับ Re - admit ภายใน 72 ชั่วโมง
55 ราย และปัญหาคุณภาพในการดูแลมีดังนี้ 1) การรักษา 5 ครั้ง 2) การพยาบาล 46 ครั้ง 3) การส่งต่อข้อมูล
ยาและเวชภัณฑ์ 86 ครั้ง 4) วิธีการน าส่ง 10 ครั้ง และ 5) การปฏิบัติตามแนวทาง 19 ครั้ง
2. น าเสนอข้อมูลในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาส่งต่อระดับจังหวัด และที่ประชุมพยาบาลบริหาร
3. นัดประชุมทีมผู้เกี่ยวข้องเพอวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการพฒนา รวมทั้งก าหนดตัวชี้วัด
ั
ื่
ี
พบสาเหตุหลักเกิดจาก 1) การรับรู้และความเข้าใจในการส่งกลับผู้ป่วยของแพทย์และพยาบาลไม่เพยงพอ
ี
ุ
ื่
2) แนวทางการส่งกลับไม่ชัดเจน 3) ความพร้อมของรถพยาบาลและอปกรณ์ที่ไม่เพยงพอ ข้อเสนอเพอการ
ั
พฒนามีดังนี้ 1) เสนอรูปแบบการพฒนาระบบสารสนเทศเพอให้ครอบคลุมประเด็นส าคัญของการส่งต่อข้อมูล
ั
ื่
ั
โดยทีมพฒนาประกอบด้วย แพทย์ผู้รักษา พยาบาลประจ าหอผู้ป่วย นักวิชาการคอมพวเตอร์ และพยาบาล
ิ
ศูนย์ส่งต่อได้มีการพัฒนาโปรแกรมการส่งกลับ Thai Refer ตามหลัก DMETHOD เพอให้โรงพยาบาลปลายทาง
ื่
สามารถรับข้อมูลได้อย่างครบถ้วน 2) จัดท าแนวปฏิบัติการส่งกลับผู้ป่วย 3) เผยแพร่แนวปฏิบัติการส่งกลับ
ผ่านที่ประชุมองค์กรแพทย์ และที่ประชุมพยาบาลบริหาร
4. จัดอบรม ท าความเข้าใจในแนวปฏิบัติการส่งกลับผู้ป่วยให้กับพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับมอบหมาย
หน้าที่ปฏิบัติงานที่ศูนย์ส่งต่อ และสอบสมรรถนะพยาบาล
5. ศูนย์ส่งต่อติดตามผลการด าเนินงาน โดยมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบคือพยาบาลศูนย์ส่งต่อ
ในแต่ละเวรติดตามการปฏิบัติตามแนวทางของผู้เกี่ยวข้องจากการติดตามยังพบปัญหาผู้ป่วยมีอาการทรุดลง
ตั้งแต่ก่อนส่งกลับ ระหว่างการส่งกลับและหลังส่งกลับ ส่งกลับผิดโรงพยาบาล การเตรียมยา อุปกรณ์ในการ
ส่งกลับไม่เหมาะสม การให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติ ในปี 2562 ระหว่างการด าเนินการพบมีผู้ป่วย Re - admit
ภายใน 72 ชั่วโมง 65 ราย และปัญหาคุณภาพในการดูแลมีดังนี้ 1) การรักษา 7 ครั้ง 2) การพยาบาล 23 ครั้ง
3) การส่งต่อข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ 41 ครั้ง 4) วิธีการน าส่ง 11 ครั้ง และ 5) การปฏิบัติตามแนวทาง 9 ครั้ง
6. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพอทบทวนสาเหตุและหาแนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้ โดยการจัดประชุม
ื่
ั
ระหว่างศูนย์ส่งต่อและหอผู้ป่วยที่ส่งผู้ป่วยกลับ ได้พฒนารูปแบบการประเมินผู้ป่วยก่อนส่งกลับ ออกมา
ในรูปแบบของแบบฟอร์มการประเมินผู้ป่วยก่อนการส่งกลับ ครอบคลุมตั้งแต่การเตรียมก่อนส่งกลับ โดยแบบ
ประเมินนี้จะใช้การประเมินร่วมกันทั้ง 3 ส่วน คือ 1) พยาบาลประจ าหอผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย ก่อนการ
ส่งกลับ 2) พยาบาล ศูนย์ส่งต่อรับผู้ป่วยจากพยาบาลหอผู้ป่วย และ 3) พยาบาลโรงพยาบาลเครือข่ายประเมิน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 26