Page 53 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 53

กำรพัฒนำระบบส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ด้วยระบบ Fast Pass

                                                  เข้ำสู่หอผู้ป่วยในโดยตรง


                                                          แพทย์หญิงอัจฉราชนก พันธ์ทอง, แพทย์หญิงนนทกา นิพิธกุล,
                                               นายแพทย์ธนโชติ กิจมีรัศมีโยธิน, นายแพทย์โตณณาการ ขุนหาร และคณะ

                                                                     โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ เขตสุขภาพที่ 9



                  ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
                                 ั

                           โรงพยาบาลชัยภูมิเป็นโรงพยาบาลจังหวัดขนาดใหญ่ระดับ A ให้บริการประชาชนทั้งจังหวัดชัยภูมิ
                  และรับผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนทั้งหมด 15 โรงพยาบาล จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติต่าง ๆ ของผู้มารับ

                  บริการและข้อมูลด้านงานคุณภาพ พบว่า มีอตราของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการ Admit รอคอยอยู่ในห้องฉุกเฉิน
                                                       ั
                  มากกว่า 2 ชั่วโมงแนวโน้มสูงขั้น โดยเป็นกลุ่มผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (ESI level 1, สีแดง) และกลุ่มผู้ป่วยฉุกเฉิน
                  หนัก (ESI level 2, สีชมพ) ส่งผลให้กลุ่มผู้ป่วยผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน (ESI level 3, สีเหลือง) และผู้ป่วยผู้ป่วย
                                        ู
                  ฉุกเฉินไม่รุนแรง (ESI level 4, สีเขียว) ได้รับการตรวจรักษาที่ล่าช้าและเกิดความแออดภายในห้องฉุกเฉิน
                                                                                            ั
                  ตามมา

                           จากการวิเคราะห์กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมาจากโรงพยาบาลชุมชน พบว่าเป็นผู้ป่วยแผนก
                  ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ถึงร้อยละ 45 แม้จะได้รับการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นและปรึกษาแพทย์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์

                  มาแล้ว โดยจัดเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน (ESI level 3, สีเหลือง) และผู้ป่วยผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (ESI level
                  4, สีเขียว) ส่งผลให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลรักษาและการผ่าตัดล่าช้า นอกจากผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยแล้ว

                  ยังสร้างความเครียดและความขัดแย้งระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วย/ญาติ เกิดเป็นความเสี่ยงความ
                  รุนแรงในห้องฉุกเฉินตามมา

                  วัตถุประสงค์กำรศึกษำ

                         1. เพอพฒนาระบบสุขภาพอย่างไร้รอยต่อผ่านระบบการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนมายัง
                                 ั
                              ื่
                  โรงพยาบาลชัยภูมิ (Refer in) ส าหรับกลุ่มผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหักและผู้ป่วยแผนกศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
                  ที่ไม่ซับซ้อน เข้าสู่หอผู้ป่วยโดยตรง (Fast pass)

                               ื่
                           2. เพอลดแออด ลดรอคอยของผู้ป่วยแผนกศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ที่มีการปรึกษาแพทย์ศัลยกรรม
                                       ั
                  ออร์โธปิดิกส์มาแล้วได้รับการตรวจรักษาและเข้านอนโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมและปลอดภัย
                           3. เพอตอบสนองการดูแลกลุ่มผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหัก ให้ได้รับการรักษาและการผ่าตัด
                                ื่
                  อย่างรวดเร็วและเหมาะสม ให้สามารถกลับมาเดินได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

                  วิธีกำรศึกษำ

                         1. ประชุมโดยทีมสหวิชาชีพ ระหว่างกลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน กลุ่มงานศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
                  และศูนย์ประสานงานรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรงพยาบาลชัยภูมิ เพอปรึกษาหารือถึงแนวทางการปฏิบัติ ลดขั้นตอน
                                                                    ื่
                  ที่ไม่จ าเป็น และก าหนดเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยโดยค านึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรทางการ
                  แพทย์เป็นหลักในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 แสดงดังภาพที่ 1 และ 2









                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       49
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58