Page 57 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 57
คุณภาพได้มาตรฐาน โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ลดขั้นตอนการท างานที่ซ้ าซ้อน ลดการใช้ทรัพยากร
ที่ไม่จ าเป็นในห้องฉุกเฉิน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางได้รวดเร็ว
ึ
ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ลดระยะเวลาวันนอนโรงพยาบาล และเกิดความพงพอใจ
ในการให้และรับบริการ
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลต่างๆ ในเครือข่าย ได้รับการดูแลรักษาพยาบาลจากทีม
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ได้รวดเร็ว ปลอดภัย และได้มาตรฐาน
2. เพื่อลดระยะเวลาการรอคอย และลดขั้นตอนกระบวนการท างานที่ซ้ าซ้อน
3. เพื่อลดความแออัดในห้องฉุกเฉิน
4. ผู้ให้บริการและผู้รับบริการพึงพอใจต่อระบบบริการ
วิธีกำรศึกษำ/กำรด ำเนินกำร
1. ศึกษาสถานการณ์ปัญหาร่วมกันภายในจังหวัด ผ่านเวทีการประชุมคณะท างานพฒนาระบบส่งต่อ
ั
ั
ผู้ป่วยระดับโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกนท า RCA พบว่า เกิดปัญหาเนื่องจากศูนย์ประสานรับส่งต่อ
ี
ผู้ป่วยจังหวัดภูเก็ตช่องทางการประสานเพยงช่องทางเดียว ติดต่อยาก สายไม่ว่าง ขั้นตอนการประสาน
หลายขั้นตอนต้องใช้ระยะเวลานาน
2. เพมช่องทางในการติดต่อศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วย โดยการเพมคู่สายโทรศัพท์เป็น 3 คู่สาย
ิ่
ิ่
แบ่งเป็น คู่สายทางด่วนรับส่งต่อ (Fast Track Refer In) คู่สายรับส่งต่อ (Refer In) และคู่สายส าหรับส่งต่อ
(Refer Out)/ส่งกลับ (Refer back) ร่วมกับการส่งต่อข้อมูลภาพ/วิดีโอผ่าน Line application
3. ศูนย์ประสานงานรับส่งต่อผู้ป่วย ปรับปรุงแก้ไข LEAN ระบบแนวทางการประสานงานในการรับส่งต่อ
ผู้ป่วยและมาตรฐานการดูแลรักษาพยาบาลในการส่งต่อผู้ป่วยแต่ละกลุ่มโรคส าคัญ โดยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ช่วยตรวจสอบและปรับน าใช้
4. ศูนย์ประสานงานรับส่งต่อผู้ป่วย LEAN การ Consultation กับแพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ทุกกลุ่มโรค ด้วยระบบการประชุมสายโทรศัพท์สามสาย เพอลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ซ้ าซ้อนจากการ
ื่
ต้องโทรประสานหลายครั้ง
ั
ั
ื่
5. จัดการประชุมระดับเครือข่ายอนดามัน (จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพงงาและจังหวัดกระบี่) เพอชี้แจง
แนวทาง การรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล (Inter facility Patient Transfer) น าใช้ระบบ Pass Fast
Pass through สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเครือข่ายในการเตรียมผู้ป่วยฉุกเฉินก่อนการส่งต่อ การดูแลผู้ป่วย
ฉุกเฉินระหว่างการส่งต่อ การส่งมอบผู้ป่วยฉุกเฉินหลังการส่งต่อ รวมไปถึงการประเมินและการสะท้อนกลับ
ข้อมูลการส่งต่อ
6. น าระบบรถพยาบาลแบบรวมศูนย์ (Ambulance Operation Center) เข้ามาใช้ภายในศูนย์
ประสานรับส่งต่อผู้ป่วยเพอการให้ค าปรึกษาอานวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction)
ื่
และติดตามอาการผู้ป่วยระหว่างการส่งต่อ จนถึงจุดหมายปลายทาง หากพบผู้ป่วยมีอาการทรุดแย่ลงระหว่าง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 53