Page 56 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 56
Andaman Seamless Referral Network
นางวันดี ศิริโชติ
ศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดภูเก็ต
โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เขตสุขภาพที่ 11
ควำมส ำคัญของปัญหำ
ุ
กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความส าคัญในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคณภาพได้มาตรฐาน
ื่
พฒนาศักยภาพ ส่งเสริมระบบส่งต่อ เพอลดความแออดและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม โดยได้จัดท า
ั
ั
ั
ั
แผนการพฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ที่มุ่งเน้นการพฒนาระบบบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ
ั
ทุติยภูมิ และตติยภูมิ รวมถึงการพฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง โดยมีกรอบแนวความคิด คือ เครือข่าย
บริการที่ไร้รอยต่อ (Seamless Heath Service Network) มีการเชื่อมโยงระบบบริการด้วยระบบส่งต่อผู้ป่วย
มีการประสานงานเพอให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักประกันประชาชนจะเข้าถึงบริการ
ื่
ที่ได้มาตรฐาน ทั่วถึงและเป็นธรรม
โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เป็นโรงพยาบาลศูนย์ที่ให้บริการทางการแพทย์ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
ั
ตติยภูมิและเฉพาะทางขั้นสูง เป็นแม่ข่ายของโรงพยาบาลในเขตอนดามัน ทั้งโรงพยาบาลรัฐและเอกชน
ั
ในจังหวัดภูเก็ต รวมไปถึงโรงพยาบาลรัฐจังหวัดพงงาและกระบี่ ซึ่งหมายความว่าถ้าโรงพยาบาลเหล่านี้
ไม่สามารถให้การรักษาประชาชนได้ด้วยเหตุผลต่างๆ จะต้องส่งผู้ป่วยมารับการรักษาที่โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต
ซึ่งในปีงบประมาณ 2561 - 2565 โรงพยาบาลวชิระภูเก็ตรับการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลในเครือข่าย
ทั้งหมดจ านวน 6,101 ราย 5,867 ราย 6,455 ราย 4,591 ราย และ 5,606 ราย ตามล าดับ ซึ่งแต่เดิมนั้น
ในระบบรับส่งต่อผู้ป่วยของโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ได้มีแนวทางการประสานรับส่งต่อผู้ป่วยที่ใช้เดิมอยู่แล้ว
แต่จากผลการด าเนินงานที่ผ่านมายังประสบปัญหาในการประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยติดต่อกับ
ศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วยล่าช้าเนื่องจากมีช่องทางการประสานงานเบอร์โทรศัพท์เพยง 1 คู่สายท าให้ติดต่อ
ี
ได้ยาก ร่วมกับขั้นตอนการประสานงานมีหลายขั้นตอนมากเกินไป เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อศูนย์ประสานรับส่งต่อ
ผู้ป่วยได้รับการประสานงานและแพทย์พิจารณารับตัวผู้ป่วยจากโรงพยาบาลในเครือข่ายแล้ว ผู้ป่วยเหล่านั้นถูก
ส่งตัวเข้ามารับการรักษา ณ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จากทุก ๆ โรงพยาบาล กลุ่มโรคหัวใจ
และหลอดเลือด (STEMI) กลุ่มโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) กลุ่มโรคติดเชื้ออบัติใหม่ (Covid-
ุ
19) รับเข้าแบบ pass to ward บ้าง รับเข้ามา ณ ห้องฉุกเฉินบ้าง แล้วแต่แพทย์เวร consult นั้น ๆ พจารณา
ิ
แนวทางปฏิบัติคลุมเครือไม่ชัดเจน ซึ่งห้องฉุกเฉินเองก็มีผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่มาจากช่องทางอน ๆ
ื่
เช่น มาเองหรือญาติน าส่งระบบการแพทย์ฉุกเฉน (EMS) ที่ก าลังรอรับการรักษาตามล าดับความเร่งด่วนอยู่แล้ว
ิ
เป็นจ านวนมากเช่นกัน สาเหตุเหล่านี้ท าให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งตัวมาได้รับการรักษาล่าช้ากว่าจะได้รับตัวเข้าไป
ื่
ในหอผู้ป่วยเพอพบกับแพทย์เฉพาะทางอย่างทันท่วงที ผู้ป่วยเหล่านี้อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน มีอาการทรุดลง
หรือเสียชีวิตอย่างไม่คาดฝันได้
ดังนั้น ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ได้ตระหนักปัญหาที่เกิดขึ้น
และเล็งเห็นความส าคัญในการพฒนาแนวทางการประสานในการรับส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ให้มี
ั
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 52