Page 9 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 9
อภิปรำยผล
จากการด าเนินการพบว่าผู้บริหารให้ความส าคัญกับการส่งต่อผู้ป่วยให้ปลอดภัย โดยเน้นการส่งข้อมูล
ที่เป็นระบบเดียวกัน สื่อสารการเข้าใจง่าย โดยเริ่มตั้งแต่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ ใช้ระบบเดียวกัน มีแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วยภายในเขตที่คล้ายกัน
ดั้งแต่ผู้ป่วยที่เป็น OPD case เข้าระบบนัดออนไลน์ ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินได้รับการส่งต่อโดยระบบ Continuous
real-time vital signal monitoring ซึ่งเริ่มรับส่งต่อผ่านระบบ 3Refer Plus ทั้งเขตเดือนเมษายน 2566
ิ่
พบว่ามีการใช้การส่งต่อผ่านโปรแกรม 3Refer เพมขึ้น การน าส่งที่ใช้เครื่อง Continuous real-time vital
ิ่
signal monitoring เพมขึ้น แต่ยังไม่ถึงร้อยละ 50 อาจจะยังไม่ครอบคลุมทุกโรงพยาบาล ระบบของเครื่อง
Monitor บางรุ่นใช้งานยุ่งยาก และเครื่อง Monitor มีแค่โรงพยาบาลละ 1 - 2 เครื่อง และพบว่าพยาบาล
ที่น าส่งไม่ได้ Consult เมื่อมีอาการเปลี่ยนแปลงขณะส่งต่อ ซึ่งต้องพฒนาศักยภาพพยาบาลส่งต่อต่อไป
ั
ส่วนการบันทึกการประเมินผลการดูแลขณะน าส่งยังไม่ครอบคลุมท าให้การรายงานมีข้อมูลไม่ครบถ้วน และการ
เก็บตัวชี้วัดรวบรวมได้ยาก เนื่องจากมีหลายแหล่งข้อมูลอาจจะได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง
สรุปและข้อเสนอแนะ
ระบบการรับส่งต่อของเขตสุขภาพที่ 3 ใช้การรับส่งต่อผ่านระบบ 3Refer Plus โดยเน้นการส่งต่อผ่าน
ั
โปรแกรม 3Refer ทุกราย ผู้ป่วยรายใหม่ทุกรายเข้ารับการรักษาโดยผ่านระบบนัด Online เพื่อลดความแออด
ในโรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ และเน้นการดูแลผู้ป่วยที่วิกฤต Level 1, 2 ได้รับการดูแลผ่าน
ื่
ระบบ Continuous real-time vital signal monitoring เพอให้ผู้ป่วยปลอดภัยขณะน าส่ง และพยาบาลที่ส่ง
ต่อเกิดความมั่นใจในการน าส่ง สามารถปรึกษาแพทย์ได้กรณีผู้ป่วยมรอาการเปลี่ยนแปลง จึงอยากให้ทุกสถาน
บริการจัดระบบการรับส่งต่อผู้ป่วยให้เชื่อมโยงกัน เพื่อผู้ป่วยจ าได้รับการรักษาที่เหมาะสม ตรงกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น
และลดค่าใช้จ่ายในการมาโรงพยาบาลหลายครั้ง ลดเวลารอคอยต้องมารอตรวจนาน หรือมาแล้วไม่พบแพทย์
เฉพาะทาง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 5