Page 10 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 10
กำรพัฒนำระบบกำรแพทย์ทำงไกลในชนบทส ำหรับกำรดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
โดยกำรเชื่อมต่อระหว่ำงโรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบลกับห้องฉุกเฉิน
โรงพยำบำลระดับตติยภูมิ จังหวัดชลบุรี
Developing Telemedicine System in Rural Area for Caring Emergency Crisis Patients
by Connecting Interfaces Between Sub-district Health Promoting Hospital and
Emergency Department of the Tertiary Care Hospital, Chon Buri Province.
แพทย์หญิงผกามาศ ฮอถาวรพัฒน์ โรงพยาบาลพนัสนิคม
้
และเภสัชกรหญิง ดร.วนิดา ประเสริฐ
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สถาบันพระบรมราชนก จังหวัดชลบุรี เขตสุขภาพที่ 6
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical System) เป็นระบบของการจัดการให้บริการ
รักษาพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็วและส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่เหมาะสมและมีความพร้อมได้
ื่
อย่างทันท่วงที ซึ่งการรักษาที่ทันเวลาสามารถที่จะช่วยชีวิตหรือรักษาอาการเบื้องต้นเพอป้องกันอาการรุนแรง
ก่อนมาถึงโรงพยาบาล ส่งผลท าให้ลดการบาดเจ็บ ทุพลภาพ และเสียชีวิตได้
สถานการณ์การเกิดการเจ็บป่วยในภาวะฉุกเฉิน ในปี พ.ศ. 2563 พบอตราการพการและการตายของ
ิ
ั
ผู้ป่วยฉุกเฉินที่เพมขึ้นเป็นร้อยละ 42 และผู้ปฏิบัติงานบริการการแพทย์ฉุกเฉินไม่สามารถเข้าถึงพนที่เกิดเหตุ
ื้
ิ่
ภายใน 8 นาที ตามที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนดไว้ ส่งผลท าให้ผู้ป่วยบางคนไม่ได้รับการช่วยเหลือได้อย่าง
ทันเวลา
ระบบการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) เป็นอกรูปแบบของระบบบริการทางการแพทย์ที่จะมี
ี
บทบาทส าคัญในการพฒนาระบบการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ท าให้ประชาชนที่อยู่
ั
ห่างไกลหรือในชนบท สามารถเข้าถึงการรักษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเท่าเทียมและทันเวลา โดยจะ
ประยุกต์ใช้ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมกับการใช้งานทางการแพทย์ ซึ่งจะมีการส่งสัญญาณผ่านสื่ออาจจะเป็น
ิ
้
สัญญาณดาวเทียมหรือใยแกวน าแสง ควบคู่ไปกับเครือข่ายคอมพวเตอร์ ท าให้ต้นทางและปลายทางสามารถ
ิ่
ื่
ติดต่อกันด้วยภาพเคลื่อนไหวและเสียงได้ เพอเพมประสิทธิภาพการบริการ เช่น ระบบการแพทย์ทางไกลให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานในทุกระดับเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบครบวงจรอย่างไร้รอยต่อ (Seamless
Comprehensive Health Care) มาใช้ในพนที่ห่างไกล จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องไม่พบการศึกษา
ื้
เกี่ยวกับระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินโดยการเชื่อมต่อระหว่าง
ั
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกับห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพฒนา
และประเมินประสิทธิผลของระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน โดยการ
เชื่อมต่อกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
เนื่องจากอาเภอพนัสนิคมมีพนที่ค่อนข้างกว้างถึง 450 ตร.กม. รวมถึงการจราจรที่ติดขัด ท าให้ผู้ป่วย
ื้
เข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินได้ล่าช้า ผู้วิจัยพบว่าอาเภอพนัสนิคมมีจุดแข็งด้านการแพทย์ปฐมภูมิ คือ
มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล (รพ.สต.) มากถึง 21 แห่งกระจายครอบคลุมพนที่ 20 ต าบล ตามนโยบาย
ื้
ของกระทรวงสาธารณสุขปี 2564 จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งกับผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินในพนที่ห่างไกลโรงพยาบาล
ื้
ที่จะได้รับการดูแลกู้ชีพเบื้องต้นอย่างเหมาะสม และเข้าสู่ระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างทันท่วงที
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 6