Page 11 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 11

วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
                                 ั
                              ื่
                         1. เพอพฒนาระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินโดยการเชื่อมต่อ
                  ระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกับห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

                         2. เพอประเมินประสิทธิผลของระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
                              ื่
                  โดยการเชื่อมต่อระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกับห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

                  วิธีกำรศึกษำ

                         ระเบียบวิธีวิจัย
                         งานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะแรก เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลัง (One
                                           ื่
                                              ั
                  group pretest posttest) เพอพฒนาระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
                  ระยะที่สอง เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive study) เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง (A cross-sectional
                           ื่
                  study) เพอรวบรวมข้อมูลประเมินประสิทธิผลระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
                  ฉุกเฉินโดยการเชื่อมต่อระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกับห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
                  ระยะเวลาการเก็บข้อมูล ตั้งแต่เดือนกุมภาพนธ์ 2565 ถึง เดือนพฤษภาคม 2566 ระยะที่สาม งานวิจัยเชิง
                                                        ั
                                                                       ื่
                                                                                          ั
                  คุณภาพ เป็นรูปแบบการประชุมแบบกลุ่ม (Focus group) เพอหาแนวทางในการพฒนาระบบการแพทย์
                  ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน และสอบถามความพึงพอใจต่อระบบระบบการแพทย์ทางไกล
                         ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
                         ระยะที่ 1 พัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลในชนบทส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน

                         ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลจาก 21 รพ.สต.
                         กลุ่มตัวอย่าง เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลจาก 21 รพ.สต. จ านวน 46 คน
                         ระยะที่ 2 ประเมินประสิทธิผลระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
                         ประชากร ได้แก่ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เข้ารับการรักษาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2565 ถึง พฤษภาคม 2566
                         ระยะที่ 3 แนวทางในการพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน

                  ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนส าคัญซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ รพ.สต. จ านวน 46 คน ประกอบด้วย
                  พยาบาลวิชาชีพ จ านวน 20 คน นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข จ านวน 26  คน
                         เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย

                         1. ระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
                        ระบบการแพทย์ทางไกลส าหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินพัฒนาโดยบริษัทมายด์ เมดิคอล แคร์จ ากัด
                  ซึ่งระบบการแพทย์ทางไกลนี้จะมีการเชื่อมต่อช่องทางการปรึกษาและรักษาทางไกลผ่านระบบซอฟแวร์
                  Ambulink โดยใช้ชื่อว่าระบบการแพทย์ทางไกลห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลพนัสนิคม (ER Phanat Teleconsult)
                  โดยเชื่อมการสื่อสารจาก Smartphone ของเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ด้วยการสแกน QR code หรือกดไอคอนลิงค์

                  จากหน้าจอมือถือ android หลังจากนั้นกรอก Username และ Password ที่ได้ลงทะเบียนไว้ ระบบจะท าการ
                  เชื่อมต่อภาพและเสียงเข้ามายังศูนย์สื่อสารการรักษาทางไกลในห้องฉุกเฉิน รพ.พนัสนิคม และสามารถสื่อสาร
                  กันได้ทันที โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินให้ค าปรึกษาในดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น (Online medical director) และ

                  พร้อมกับสั่งการหน่วยปฏิบัติการออกเหตุกรณีเข้าเกณฑ์ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน โดยมีจะการติดตามอาการผู้ป่วย
                  และให้ค าแนะน าโดยตลอด
                        2. แบบสอบถามประเมินความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเบื้องต้น
                         แบบสอบถามนี้ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ซึ่งส่วนที่ 1 ประกอบด้วย ข้อค าถามทั่วไป ได้แก่ อายุ สถานที่
                  ท างาน จ านวนปีที่ท างาน ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่รพสต จ านวน 4 ข้อ ส่วนที่ 2 ข้อค าถาม








                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                        7
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16