Page 95 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 95
อัตราพยาบาลห้องฉุกเฉินคัดแยก 100 72.72 78.51 100
ผู้ป่วยถูกต้อง (8/11) (11/14) (10/10)
อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ 85 NA NA 97
อัตราข้อร้องเรียนของญาติผู้ป่วย 0 3 3 1
ผลลัพธ์เชิงคุณภำพในกำรพัฒนำครั้งนี้ได้แก่
1. บุคลากรโรงพยาบาลบ้านฉาง แพทย์ พยาบาล และสหสาขาวิชาชีพ เครือข่ายสุขภาพองค์กร
ปกครองระดับอ าเภอ ต ารวจ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ/จิตอาสา อาสาสมัครสาธารณสุข งานป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนน าชุมชน ผู้ใหญ่บ้านและทีมบุคลากรผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ยาเสพติด
ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จ านวน 9 แห่ง มีความรู้ ทักษะ และมีความมั่นใจ มีความสามารถในการสร้าง
สัมพนธภาพ การจัดการพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรงความรู้ด้านจิตเวช ฉุกเฉิน รุนแรง เพอการบ าบัดกับผู้ป่วย
ั
ื่
จิตเวชฉุกเฉิน ผู้เข้าอบรม 225 คน มีความรู้ก่อนอบรม ร้อยละ 69.87 หลังเข้ารับการอบรม ร้อยละ 82.14
2. มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วยส่งต่อที่ครบวงจร ในโรงพยาบาลทุกระดับ ผลการด าเนินงานตั้งแต่
ตุลาคม 2566 - พฤษภาคม 2566 จ านวนผู้ป่วย 10 ราย ได้รับการประสานส่งต่อส าเร็จ 6 ราย โรงพยาบาล
ระยอง รับส่งกลับจากโรงพยาบาลระยอง 6 ราย ผู้ป่วยก้าวร้าว รุนแรงระดับคะแนน 1 - 2 คะแนน รับรักษา
ที่หอผู้ป่วยใน จ านวน 4 ราย โรงพยาบาลบ้านฉาง บ าบัดรักษา ให้กลับบ้านได้ จ านวน 3 ราย และกลับมา
บ าบัดรักษาแบบผู้ป่วยนอก 3 ราย ผลปัสสาวะยาบ้า เป็นลบ 3 คน อาการทางจิตอาการปกติ ไม่มีรุนแรง
ก้าวร้าว ญาติท างานได้ ยิ้มแย้มแจ่มใส ญาติมีความกังวลลดลง และมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเพอป้องกัน
ื่
อาการก าเริบซ้ า
3. มีชุมชน (Community Based Treatment and rehabilitation: CBTx) ณ หมู่ที่ 7 ต าบลบ้าน
ู
ื่
ื้
ฉางอาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง เพอบ าบัดฟนฟผู้ที่ใช้สารเสพติดในที่อยู่ในชุมชนชุมชน ระยะเวลา 4 เดือน
ื่
เพอเป็นการบ าบัดรักษาและดูแลเฝ้าระวังที่ต่อเนื่องโดยคนในชุมชนและเครือข่าย ลดการกลับไปเสพซ้ า
และการก่อเหตุความรุนแรงก้าวร้าวในชุมชน พบผลการตรวจปัสสาวะยาบ้า เป็นผลลบ จ านวน 15 คน
จากผู้ป่วย 17 คน คิดเป็นร้อยละ 88.23 ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการท ากิจกรรมบ าบัด ได้รับความร่วมมือ
ร่วมใจจากทุกภาคส่วน ประชาชนในชุมชน ครอบครัวสนับสนุนให้เข้าร่วมกิจกรรมรวมทั้งสถานประกอบการ
ที่ผู้เข้ารับการบ าบัดยินดีสนับสนุน
4. มีชุมชนน าร่องการดูแลเฝ้าระวังภาวะรุนแรงก้าวในคนไข้จิตเวชที่ความเสี่ยงสูง ด าเนินการที่ หมู่ที่ 6
ต าบลบ้านฉาง เฝ้าระวังผู้ป่วยยาเสพติด จ านวน 2 ราย ผู้ป่วยจิตเวช 1 ราย อาการปกติไม่มีภาวะรุนแรง
ก้าวร้าวมาพบแพทย์ตามนัด
อภิปรำยผล
ั
การพฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพอเปลี่ยนเสียงความ
ื่
หวาดกลัวของชุมชนให้เป็นเสียงแห่งพลังและความหวังของครอบครัว เป็นการด าเนินงานภายไต้การน า
ของผู้อานวยการโรงพยาบาลบ้านฉาง ที่มีวิสัยทัศน์ในการพฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างเป็นองค์รวม
ั
การพัฒนาระบบส่งต่อจะไม่สามารถด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าไม่มีระบบงานการดูแลด้านต่าง ๆ รองรับ
เช่น การมีระบบส่งต่อที่จิตแพทย์เป็นผู้รับส่งต่อโดยตรง การที่จิตแพทย์เปิดโอกาสให้ทีม consult
ได้ตลอดเวลา การสร้างหอผู้ป่วยรองรับการส่งต่อกลับจากโรงพยาบาลแม่ข่าย และจัดให้ผู้ป่วยที่มีระดับ OAS
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 ได้นอนในโรงพยาบาล ท าให้ชุมชนมีความมั่นใจในโรงพยาบาลและเมื่อจ าหน่าย
กลับบ้านชุมชนมีความเชื่อมั่นในการรับส่งต่อกลับไปดูแลอย่างมีความรู้และเข้าใจ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 91