Page 98 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 98

รูปที่ 1 ระบบ Tele - monitoring ร่วมกับการอ านวยการตรงทางการแพทย์


                                         (Online medical direction) จังหวัดขอนแก่น

                  วัตถุประสงค์กำรศึกษำ

                           ื่
                                                                                                         ั่
                         เพอศึกษาเปรียบเทียบระดับของความกังวลในโอกาสเกิดภาวะทรุดลงของผู้ป่วยวิกฤตและความมนใจ
                                                                                     ุ
                  ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตของพยาบาลวิชาชีพ ระหว่างกลุ่มที่มีการใช้และไม่ได้ใช้อปกรณ์ Tele - monitoring
                  ในการส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตระหว่างโรงพยาบาล

                  วิธีกำรศึกษำ

                         เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เกี่ยวกับทัศนคติและความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ

                  ในการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น กลุ่มประชากรเป็นพยาบาลวิชาชีพ
                  ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลแม่ข่ายตลอดจนโรงพยาบาลทั่วไป ที่สังกัดส านักงาน
                  ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายในจังหวัดขอนแก่นที่เคยมีประสบการณ์การส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตระหว่าง
                  โรงพยาบาล อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยแบบเก็บข้อมูลงานวิจัยด้วยโปรแกรม Google form ซึ่งแบบสอบถาม
                  ประกอบด้วย สองส่วน ส่วนแรกเป็นข้อมูลทั่วไป และส่วนการประเมินทัศนคติของผู้เข้าร่วมการวิจัย น าข้อมูล

                  ที่ได้มาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จ านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
                  มาตรฐาน ค่าต่ าสุดและค่าสูงสุด ส่วนการเปรียบเทียบระดับของความกังวลใจและความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วย
                  วิกฤตของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่มีการใช้และไม่ได้ใช้อปกรณ์ Tele-monitoring ในการส่งต่อผู้ป่วย
                                                                       ุ
                  วิกฤตระหว่างโรงพยาบาลแตกต่างกันหรือไม่ โดยใช้สถิติเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (Compare mean)
                  ด้วย Student T-test โดยก าหนดระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                  ผลกำรศึกษำ

                            มีพยาบาลวิชาชีพตอบแบบสอบถามผ่าน Google form จ านวน 249 คน ในจ านวนนี้ไม่เคยส่งต่อ

                  ผู้ป่วยวิกฤตระหว่างโรงพยาบาล 13 คน จึงได้ตัดออกจากการศึกษาดังนั้นจึงเหลือพยาบาลวิชาชีพที่คัดเข้า
                  การศึกษานี้จ านวน 236 คน ซึ่งมีลักษณะของข้อมูลทั่วไป ดังตารางที่ 1 พบกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง 211 คน
                  คิดเป็นร้อยละ 89.4 มีค่าเฉลี่ยของอายุ 36.85 ±8.69 ปี พบว่ามากกว่าครึ่งอยู่ในช่วงอายุ 30 - 49 ปี พบช่วง
                  อายุการท างานที่มากกว่า 10 ปี ในภารกิจหน้าที่ส่งต่อมากถึงร้อยละ 60.2 บุคลากรที่น าส่งส่วนมากมาจาก

                  แผนกห้องฉุกเฉินถึงร้อยละ 53.4 รองลงมาเป็นตึกผู้ป่วยในและอน ๆ ระยะเวลาที่ใช้ในการส่งต่อขึ้นกับ
                                                                           ื่
                  ระยะทางจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่จะใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 - 2 ชั่วโมง




                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       94
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103