Page 94 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 94
8. ปรับรูปแบบการให้บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และการดูแลรักษาและบ าบัดโดยเชื่อมโยงกับชุมชน
มีจิตแพทย์จากโรงพยาบาลจังหวัดระยองมาให้บริการตรวจผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลบ้านฉางและตรวจเยี่ยม
หอผู้ป่วยทุกสัปดาห์ โดยให้ค าปรึกษาและรักษาทาง Telemedicine ทุกวัน
9. โรงพยาบาลบ้านฉางรับผู้ป่วยที่มีอาการก้าวร้าวรุนแรง มีอาการสงบ ระดับคะแนน 1 - 2 คะแนน
ื้
จากโรงพยาบาลระยองมารับการรักษาฟนฟูยาเสพติด
ื้
10. จัดท าแนวทางการส่งต่อผู้ป่วยก่อนกลับสู่ครอบครัวและชุมชน ระบบการรักษาและฟนฟูยาเสพติด
ู
ื้
นอกแบบผู้ป่วยใน (หอจรุงจิต) โดยประสานกับองค์กรภาครัฐและเอกชน โดยส่งบ าบัดฟนฟการเข้าสู่สังคม
ื้
ื่
ิ
ที่ศูนย์ฟนฟผู้พการและยาเสพติดในชุมชน สัปดาห์ละ 1 ครั้งครั้งละ 1 - 3 ชั่วโมง และจัดหางานเพอให้ผู้ป่วย
ู
สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ในกรณีที่สามารถท างานได้ ประสานโรงงานอตสาหกรรม นายจ้างในชุมชน เพอคืน
ุ
ื่
คนดีสู่สังคม
ขั้นตอนที่ 3 พัฒนำระบบกำรติดตำมและกำรเฝ้ำระวังผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินในชุมชน
1. มีระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงในชุมชน การสังเกตอาการ การเยี่ยมบ้านโดยร่วมด าเนินงานกับฝ่าย
ปกครอง ต ารวจ ผู้ใหญ่บ้าน ก านัน อาสาสมัครสาธารณสุข ติดตามอาการ เฝ้าระวังการใช้สารเสพติด
ตรวจปัสสาวะ ติดตามอาการและการมารับยาตามนัด
2. โรงพยาบาลบ้านฉางได้ด าเนินการร่วมกับฝ่ายปกครองอาเภอบ้านฉาง สถานีต ารวจอาเภอบ้าน
สถานีต ารวจภูธรอ าเภอบ้านฉาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน ได้ด าเนินการ
จัดท าโครงการชุมชนยั่งยืนเพอแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยการบ าบัดฟนฟโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ื้
ู
ื่
ระยะ- เวลา 4 เดือน เพื่อเป็นการบ าบัดรักษาและดูแลเฝ้าระวังที่ต่อเนื่องโดยคนในชุมชนและเครือข่าย ลดการ
กลับไปเสพซ้ าและการก่อเหตุความรุนแรงกาวร้าวในชุมชน ด าเนินการเดือนพฤษภาคม 2566 - สิงหาคม 2566
้
รวม 16 สัปดาห์ จ านวนผู้รับบริการ 17 คนเข้าร่วมกิจกรรม ทุกวันพุธ เวลา 18.00 น -19.00 น ณ วัดภูดรห้วย
มะหาด อ าเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
3. จัดท าโครงการชุมชนน าร่องการดูแลเฝ้าระวังภาวะรุนแรงก้าวในคนไข้จิตเวชที่ความเสี่ยงสูง ด าเนิน
หมู่ 6 ต าบลบ้านฉาง โดยเครือข่ายสุขภาพในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ใหญ่บ้านชุมชน เทศบาลต าบล
บ้านฉางร่วมกันเฝ้าระวังอาการ ดูแลผู้ป่วยแบบจัดการรายกรณีโดยมีกระบวนเฝ้าระวังสังเกตอาการโดยใช้แบบ
ประเมิน แบบประเมิน OAS (Overt Aggression Scale) มีระบบการจัดยาให้ผู้ป่วยจิตเวชแบบ DOT เพอให้
ื่
รับประทานยาต่อเนื่องไม่ขาดยาและอาการทางจิตไม่กาเริบ
4. ระบบการเตือนผ่านไลน์ช่องทางการสื่อสารและผู้ประสานงานหลักในการประเมินอาการประสานงาน
ื่
เพอให้เกิดความรวดเร็วและลดขั้นตอน รวดเร็วปลอดภัยต่อผู้ให้และผู้รับบริการ โดยจัดช่องทางการติดต่อ
ประสานงานผ่านพยาบาลจิตเวช/ห้องฉุกเฉิน เบอร์ติดต่อชัดเจน
ผลกำรศึกษำ
ตำรำงแสดงผลกำรศึกษำ เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินโดยชุมชนมีส่วนร่วมเปลี่ยน
เสียงความหวาดกลัวของชุมชนให้เป็นเสียงแห่งพลังและความหวังของครอบครัว
2566
ตัวชี้วัด เป้ำหมำย 2564 2565 (ตุลำคม2565 –
เมษำยน2566)
อัตราการประสานส่งต่อผู้ป่วย 100 63.63 71.42 100
OAS = 3 ส าเร็จ (7/11) (10/14) (4/4)
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 90